Skimming is the New Black ผลลัพธ์ผลร้ายของการอ่านเร็ว
คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ พาไปรู้จักการอ่านแห่งยุคสมัย หรือการอ่านแบบ Skimming ที่ตรงข้ามกับการดื่มด่ำอ่านแบบ Deep Reading

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ พาไปรู้จักการอ่านแห่งยุคสมัย หรือการอ่านแบบ Skimming ที่ตรงข้ามกับการดื่มด่ำอ่านแบบ Deep Reading
ใครอยากเข้าใจหลักความคิดของพวกอนุรักษนิยม มาอ่านจดหมายฉบับนี้ไปพร้อมกับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ กัน!
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดกระบวนท่าในการ “อ่านจากข่าว” เพื่อค้นหาฐานคิดที่ซ่อนอยู่ในข่าว ความเห็นของตัวละครในข่าวทำให้เราเห็นอะไรในสถานการณ์และเห็นสถานการณ์อย่างไร
เมื่อ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้รับโจทย์จาก สมบัติ จันทรวงศ์ ว่าให้ “อ่านการเมืองไทย” ให้ “แตกต่าง” จากฝ่ายกระแสวิพากษ์ เขามีวิธีการตอบโจทย์นั้นอย่างไร
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึก “อ่านสถานการณ์ยาก” หลากหลายรูปแบบ จากยากเพราะไม่รู้ ยากเพราะลำบากใจ ยากเพราะไม่ยอมรับความจริง ไปจนถึง ยากเพราะความซับซ้อนในสถานการณ์
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนทดลอง “อ่านหาเรื่อง” ไม่ใช่แบบตั้งใจมีเรื่องกับใคร แต่เป็นการอ่านหาเรื่องจากเอกสารชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ แล้วเก็บประเด็นไปคิดต่อ โดยใช้บันทึกการพบปะหารือเจรจาความเมืองในปี พ.ศ. 2504 ระหว่างประธานเหมา กับสองผู้นำลาว เป็นแบบฝึกหัด
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการเมืองไทยตั้งแต่ยุครัฐประหาร 2490 ซึ่งเปลี่ยนระบอบการเมืองจากระบอบที่ผู้นำคณะราษฎรวางรากฐานไว้ พร้อมตั้งคำถามสำคัญว่า ทำไมสังคมการเมืองไทยจึงขาดพลังทางสังคมนอกระบบราชการที่จะต่อต้านรัฐประหาร และเป็นพลังที่จะรักษาประชาธิปไตยไว้อย่างได้ผล ปัญญาจากมงเตสกิเยอและต๊อกเกอะวิลล์ให้คำตอบอะไรกับการเมืองไทย
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์ (Kissingerian Moment) ห้วงเวลาที่เกิด
The Conservative Dilemma เมื่อสังคมการเมืองเกิดพลังก่อตัวขึ้นมาท้าทายและเรียกร้องการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจากระบอบเดิม แต่ฝ่ายอนุรักษนิยมแทบไม่มีทางเลือกในการกลับคืนสู่เวลาของเสถียรภาพและความสงบเรียบร้อยเป็นปกติธรรมดา แล้วทางออกอยู่ตรงไหน?
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึกอ่านวิธี “think against” ผ่านผลงานโหมดคิดแย้ง “ศัพท์สันนิษฐาน: ปลาผอกหมกเหม็นยาม อยากเคี้ยว” ของ จิตร ภูมิศักดิ์
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึกอ่านสถานการณ์จากสภาพปัญหาด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า “critical juncture” เมื่อกระแสสำคัญทางการเมืองเคลื่อนบรรจบกัน จนกดดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เรามองเห็นขอบฟ้าความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปอย่างไร
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน
“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …
… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”
วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า