In search for exlixir of youth : สตาร์ทอัพค้นหายาอายุวัฒนะในเลือดของหนุ่มสาว
โสภณ ศุภมั่งมี เล่าเรื่องการเปลี่ยนถ่ายเลือดจากคนหนุ่มสาวไปสู่คนแก่เพื่อรักษาโรค

โสภณ ศุภมั่งมี เล่าเรื่องการเปลี่ยนถ่ายเลือดจากคนหนุ่มสาวไปสู่คนแก่เพื่อรักษาโรค
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย คุยกับสองนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่แห่ง ‘FREAK Lab’ ผู้มีส่วนร่วมในการส่ง ‘ทุเรียน’ และสัมภาระอื่นๆ ขึ้นไปยังอวกาศ ร่วมกับบริษัท Blue Origin ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายเดือนกรกฏาคมที่ผ่านมา
จะเป็นอย่างไรถ้าความรู้สึกถูกอ่านได้ด้วยเทคโนโลยี ?
แอบชอบใครไม่ต้องเดาใจ เอามือถือไปสแกนหน้าเป็นอันหมดเรื่อง
เห็นภาพเพื่อนหน้าแย่ ตัดผมทรงใหม่ไม่ได้เรื่องในเฟซบุ๊ก ระบบขึ้น ‘โกรธ’ ให้อัตโนมัติ
ร่วมสำรวจเทคโนโลยีที่ทำให้การอ่านความรู้สึกได้อยู่ใกล้แค่เอื้อม! ไปกับคอลัมน์ #ThirdEyeView โดย Eyedropper Fill
เหตุผลหนึ่งที่ผู้คนจับตา ‘อีลอน มัสก์’ คือความทุ่มเทที่เขามีให้กับ ‘วัสดุอวกาศ’ วัสดุที่อาจนำพามนุษยชาติไปสู่พรมแดนใหม่ได้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจเทรนด์ของวัสดุแห่งอนาคตว่ามีอะไรบ้าง และกว่าจะผลิตขึ้นมาได้ยากเย็นแค่ไหน
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึง เบสเมนต์ มูน นิยายเล่มล่าสุดของ ปราบดา หยุ่น ว่าด้วยโลกอนาคตในปี 2069 ที่ปัญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการคนเห็นต่างกับรัฐบาลเผด็จการ ในประเทศเผด็จการทั่วโลก หนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย นิยายเสียดสีอย่างแสบสันต์และพูดถึงปรัชญาไซไฟกับการเมืองได้น่าสนใจ
การเดินทางของแสง สปีชีส์ และบทกวีไปด้วยกันได้อย่างไร ชลธร วงศ์รัศมี บอกเล่าในคอลัมน์
Poetic ว่าบทกวีและวิทยาศาสตร์มีสัมพันธ์เกี่ยวกระหวัดกันมากกว่าที่คิด
จากปัตตานีสู่ MIT Media Lab คุยกับ พัทน์ ภัทรนุธาพร หรือ พีพี นักประดิษฐ์อนาคตด้วยนวัตกรรมล้ำยุค เช่น เครื่องปรินต์อาหารสามมิติบนอวกาศ มารู้จักชีวิตและมุมมองด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และสังคมไทยของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มด้าน Biotechnology ผู้อยากเป็นไดโนเสาร์ติดปีก
คำว่า ‘ห้องแล็บขนมปัง’ หรือ Bread Lab ในที่นี้ ไม่ใช่ชื่อร้านขายขนมปังเก๋ๆ ที่ไหน แต่มันคือห้องแล็บที่เป็นห้องปฏิบัติการจริงๆ ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐวอชิงตัน หรือ The Washington State University ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อทำงานด้านขนมปังกันโดยเฉพาะ!
ใครๆ ก็รู้ว่า ใต้โลกเป็นหินเหลว แต่นี่เป็นครั้งแรกที่ดาวเทียมจากอวกาศตรวจพบ ‘แม่น้ำเหล็ก’ ที่ร้อนจี๋อุณหภูมิเท่ากับพื้นผิวดวงอาทิตย์ กำลังไหลอยู่ใต้โลก แล้วไม่ได้ไหลช้าๆ ปีละมิลลิเมตรปีละนิ้ว แต่ไหลเร็วถึงปีละ 40 ถึง 45 กิโลเมตร ซึ่งในทางธรณีวิทยาแล้ว ถือว่าเร็วมาก
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า