Social Issues

4 Aug 2021

“เหมือนฟ้าผ่า แล้วห่าลงซ้ำ” สำรวจสุขภาพจิตคนไทยยุคโควิด

101 คุยกับศรีอรุณ ธนะรัชติการนนท์ ผู้อำนวยการสมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย สายด่วนป้องกันการฆ่าตัวตาย, ดร.ธนิสา ทวิชศรี นักวิจัยสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ทำวิจัยเรื่องปัญหาสุขภาพจิตในช่วงโควิด และธันยะมัย ชูอิฐจีน เพื่อนของผู้เลือกจบชีวิตในช่วงโควิด เพื่อฉายภาพสุขภาพจิตคนไทยในยุคโควิด

กองบรรณาธิการ

4 Aug 2021

Social Issues

2 Aug 2021

‘เส้นด้าย’ กับคำเตือนก่อนสาธารณสุขจะล่มสลาย

101 ชวนฟังเสียงของ ‘เส้น-ด้าย’ อาสาด่านหน้าสู้โควิด ในภาวะวิกฤตที่ประชาชนต้องช่วยเหลือกันเอง ระบบราชการมีปัญหาอย่างไร ทางออกของวิกฤตนี้อยู่ตรงไหน

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2021

Social Issues

6 Jul 2021

เปิดโรงเรียนอีกครั้งดีไหม? เปิดงานวิจัยการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในสถานศึกษา

101 ชวนอ่านงานวิจัยสำรวจการแพร่ระบาดของโควิด-19 ของ UNICEF ตอบคำถามว่าการเรียนในโรงเรียนสัมพันธ์กับการระบาดของโควิด-19 จริงหรือ

กรกมล ศรีวัฒน์

6 Jul 2021

Media

20 May 2021

101 (mid)night round: พลิกวิกฤตโควิด ออกแบบ “เมือง” แห่งอนาคต

โควิด-19 จู่โจมเข้าใจกลาง “เมือง” จนเข้าขั้นวิกฤต ทางออกจากสงครามกลาง “เมือง” รอบนี้อยู่ตรงไหน และเราจะพลิกวิกฤตโควิดเป็นโอกาสในการออกแบบสร้าง “เมือง” ใหม่แห่งอนาคตอย่างไร

กองบรรณาธิการ

20 May 2021

Economy

3 Mar 2021

วัคซีนที่ล่าช้า คือต้นทุนและความทุกข์ยากของพี่น้องคนไทย

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย ตั้งคำถามถึงศักยภาพการกระจายวัคซีนของไทยว่าจะทำได้รวดเร็วเพียงใด เพราะหากยิ่งล่าช้าเท่าไหร่ ย่อมหมายถึงความทุกข์ยากของคนไทยที่มากขึ้นเท่านั้น

ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย

3 Mar 2021

Talk Programmes

1 Feb 2021

101 One-on-One EP.210 ‘Beating the Crisis’ กับ ศุภวุฒิ สายเชื้อ

101 ชวน ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ที่ปรึกษากลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม CARE วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวันที่ยากลำบากที่สุด

101 One-on-One

1 Feb 2021

Spotlights

25 May 2020

COVID-19 ‘โรค’ เปลี่ยน ‘โลก’ : อ่านปัญญา 60 ความคิด อนาคตเศรษฐกิจการเมืองโลกและไทยในมหาวิกฤต

รวมผลงานจากการระดมสมองมองอนาคต เพื่อแสวงหาปัญญาฝ่าวิกฤต COVID-19 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และวาระโลก โดยกอง บ.ก. The101.world

กองบรรณาธิการ

25 May 2020

Thai Politics

19 May 2020

โควิด-19 ความสำเร็จของแพทย์ ความล้มเหลวของรัฐบาล ตอกย้ำปัญหาของประเทศนี้คือระบอบปกครอง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง ชี้วิกฤตโควิด-19 ตอกย้ำให้เห็นว่าระบอบปกครองของประเทศนี้คือปัญหา

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

19 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

‘สองนครา หนึ่งธาตุแท้’ : อเมริกายุคโควิด-19 บุก

เมื่อ COVID-19 จู่โจมสหรัฐอเมริกาซึ่งมีหน้าตาแบบทรัมป์ ก็ยิ่งเผยให้เห็นปัญหาโครงสร้างอำนาจการเมืองและเศรษฐกิจที่ดำรงอยู่ ชวนอ่านบทวิเคราะห์ของธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 May 2020

Spotlights

28 Apr 2020

เส้นทางขบวนการประท้วงในโลกหลังโควิด-19

จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองทิศทางของขบวนการประท้วงในโลกหลังโรคระบาดคลี่คลาย ท่ามกลางภาวะประชาธิปไตยที่ถดถอย แต่ภาพรวมการประท้วงทั่วโลกกลับเพิ่มขึ้น

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

28 Apr 2020

Issue of the Age

28 Apr 2020

มองสหภาพยุโรป, WHO และ WTO ผ่านวิกฤต COVID-19 กับ พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

สรุปความจากรายการ 101 One-on-One Ep.125 101 ชวน “พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์” สำรวจและวิเคราะห์สถานการณ์ COVID-19 ในสหภาพยุโรปและสวิตเซอร์แลนด์ รวมถึงบทบาทของ WHO และ WTO

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Apr 2020

Economic Focus

23 Apr 2020

‘แบงก์ชาติ-ตลาดการเงิน-เศรษฐกิจไทย-วิชาเศรษฐศาสตร์’ ท่ามกลางวิกฤตที่โลกไม่เคยเจอมาก่อน – พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ชวนสำรวจบทบาทใหม่ของแบงก์ชาติท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ผ่านมาตรการช่วยเหลือตลาดการเงินด้วยกองทุน BSF

ปกป้อง จันวิทย์

23 Apr 2020

Spotlights

20 Apr 2020

วิกฤตการณ์โคโรนา : ไวรัสทลายระบบโลก

เมื่อประชาธิปไตย โลกาภิวัตน์ เสรีนิยมใหม่ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ถูกท้าทายอย่างรุนแรงจากวิกฤตการณ์โคโรนา Marc Saxer ชวนค้นหาคำตอบแห่งยุคสมัย – อะไรคือหน้าต่างสู่อนาคตอันเปิดกว้าง และทำไมสังคมประชาธิปไตยคือคำตอบ

มาร์ค ศักซาร์

20 Apr 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save