รัฐไทยเลือกมองไม่เห็นปัญหาฝุ่น
101 PUB ชวนตรวจสอบเปรียบเทียบมาตรฐานและเกณฑ์คุณภาพอากาศของประเทศไทยกับสากลว่ามีข้อบกพร่องอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งชวนทบทวนว่าการแก้ไขปัญหาของภาครัฐที่ผ่านมาเพียงพอหรือไม่
101 PUB ชวนตรวจสอบเปรียบเทียบมาตรฐานและเกณฑ์คุณภาพอากาศของประเทศไทยกับสากลว่ามีข้อบกพร่องอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งชวนทบทวนว่าการแก้ไขปัญหาของภาครัฐที่ผ่านมาเพียงพอหรือไม่
ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ เขียนถึงความจำเป็นที่ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญปี 2560 หากต้องการให้ปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังและบูรณาการ
ณัฐชลภัณ หอมแก้ว พูดคุยกับ ศ.ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาป้องกันและจัดการภัยพิบัติ นิด้า ถึงอันตรายที่แฝงตัวอยู่ในฝุ่น PM 2.5 และการผลักดันร่างกฎหมายอากาศสะอาด
วิกฤตฝุ่นควันในเชียงใหม่นั้นน่าหดหู่ชวนสิ้นหวัง แต่ใช่ว่าจะไร้ทางออกเสียทีเดียว “แม่แจ่มโมเดล” เป็นหนึ่งในวิธีการหยุดเผาป่าที่ควรหยิบมาใช้โดยเร็ว
เก็บความจากเวทีสัมมนา TRF-Policy Press Forum ว่าด้วยข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองอย่างยั่งยืน
ธร ปีติดล เขียนถึงแนวคิดว่าการจัดการทรัพยากรร่วม ของ Elinor Ostorm นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ซึ่งอาจนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปํญหาฝุ่นควันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปงานเสวนา ‘ฝุ่น : มิติทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ’ โดยกลุ่มคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คุยเรื่อง ‘ฝุ่น’ ที่ไม่ใช่แค่เรื่องสุขภาพ แต่ยังมีปัญหาสำคัญในเชิงสังคมศาสตร์ ทั้งประเด็นความเหลื่อมล้ำ การจัดการของภาครัฐ การจัดการข่าวสารที่มัวยิ่งกว่าฝุ่น ฯลฯ ประเด็นที่ล้วนซ่อนอยู่หลังม่านฝุ่น PM 2.5 อันหนาแน่นนี้
101 One-on-OneEp59 “การเมืองเรื่องฝุ่น” กับ เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ ถกปัญหาฝุ่นในมิติทางสังคม ทั้งความเหลื่อมล้ำ สิทธิอากาศสะอาด ความเป็นธรรมในประเด็นสิ่งแวดล้อม กฏหมายโรงงาน และบทบาทในการแก้ปัญหาของภาคส่วนต่างๆ
พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มองวิกฤตฝุ่นในมุมเศรษฐศาสตร์ และชี้ทางออกโดยกำหนดให้สิทธิในอากาศสะอาดเป็นของประชาชน รวมถึงผลักดันให้การผลิตและการบริโภคต้องคำนึงถึงต้นทุนมลพิษที่ตกแก่สังคม เช่น การเก็บภาษีผู้ปล่อยมลพิษ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า