เมื่อเส้น ‘ความเป็นสื่อ’ เลือนราง การปกป้องคุ้มครองเสรีภาพและสิทธิการสื่อสารยิ่งสำคัญ
พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนขบคิดถึงว่าคำถามเรื่อง ‘ใครเป็นสื่อ’ สำคัญไฉน ในวันที่เทคโนโลยีทำให้คนทุกคนมีสิทธิในการสื่อสาร และทำงานร่วมกับสื่อมวลชนได้
พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนขบคิดถึงว่าคำถามเรื่อง ‘ใครเป็นสื่อ’ สำคัญไฉน ในวันที่เทคโนโลยีทำให้คนทุกคนมีสิทธิในการสื่อสาร และทำงานร่วมกับสื่อมวลชนได้
พิรงรอง รามสูต ตั้งคำถามต่อมาตรการจัดการ ‘เฟกนิวส์’ เมื่อสิ่งที่รัฐบาลพุ่งเป้าไปนั้นอาจไม่ใช่ ‘ดิสอินฟอร์เมชัน’ ในนิยามสากล
พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนทบทวนคุณค่าของสื่อวารสารศาสตร์ (อีกครั้ง) ในคืนวันที่รัฐใช้ความรุนแรงต่อผู้ชุมนุม
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงที่ทางของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) กับงานด้านวารสารศาสตร์ ในยุคที่บางคนบอกว่านักข่าวจะตกงาน เพราะเทคโนโลยีจะมาทำงานแทน
101 ชวนคุณย้อนมองสื่อและศิลป์ผ่านผลงานในปี 2020 เพื่อทบทวนภาพกว้างของสถานการณ์อันท้าทายในปีที่ผ่านมา ซึ่งอาจสะท้อนภาพรางๆ ของอนาคตข้างหน้าว่า สื่อและศิลป์จะเดินทางต่ออย่างไรในปีที่ใครๆ ต่างหวาดกลัวว่าจะหนักหนาไม่แพ้กัน
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่ต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างของแหล่งข่าวในสถานการณ์ที่แหล่งข่าวอาจเป็นผู้ให้ข้อมูลเท็จหรือบิดเบือน ผ่านกรณีการออกมาเคลื่อนไหวปกป้องเด็กจากการค้ามนุษย์ที่นำโดย QAnon
สรุปเนื้อหาจากการประชุมออนไลน์ Newsrewired ที่ Sara Fischer ผู้สื่อข่าวด้านสื่อของเว็บไซต์ข่าว Axios เสนอให้จับตาแนวโน้ม 4 ด้านที่มีผลต่อการกำหนดทิศทางของแวดวงวารสารศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในอนาคต
เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์คือ สองศาสตร์ที่กำลังผลัดใบและมองหาที่ทางใหม่ให้กับตัวเอง
สำรวจการปรับตัวขององค์ความรู้เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์กับ ในรายการ 101 In Focus Ep.27
ดำเนินรายการโดย วิโรจน์ สุขพิศาล สมคิด พุทธศรี และศุภาวรรณ คงสุวรรณ์
#ต้องรอด ตอนแรก ว่าด้วย วารสารศาสตร์กับความท้าทายของสื่อยุคปัจจุบัน และบทบาทของนักวารสารศาสตร์ยุคใหม่ ที่ต้องมีทั้งทักษะ ทัศนคติ และความเข้าใจในบทบาทของคนสื่อ
คุยกับ รศ.รุจน์ โกมลบุตร ว่าด้วยความท้าทายของนักสื่อสารมวลชนยุคใหม่ โจทย์ใหม่ๆ ในการเรียนการสอนวิชาชีพสื่อ พร้อมประเมินชีพจรสื่อไทยในยุค คสช.
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า