fbpx

Thai Politics

31 Mar 2022

ปริทัศน์วรรณกรรมปฏิวัติพากย์ไทย ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดกรุวรรณกรรมที่มีอิทธิพลเผยแพร่อุดมการณ์ปฏิวัติจากต่างประเทศสู่ไทยตั้งแต่รัชสมัยที่ 6

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

31 Mar 2022

Life & Culture

23 Feb 2022

สเปโรโซนาตา ความร้าวราน แหลกสลาย และบทสนทนาเกี่ยววรรณกรรมไทยร่วมสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘สเปโร โซนาตา ท่วงทำนองแห่งความหวัง’ รวมเรื่องสั้นจำนวน 12 เรื่องของนักเขียนหญิงรุ่นใหม่ รมณ กมลนาวิน บอกเล่าความแหลกสลายในมิติของครอบครัว สังคมและความเป็นมนุษย์ได้อย่างน่าจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

23 Feb 2022

Life & Culture

17 Dec 2021

“อำนาจทำงานกับเราตลอด 24 ชั่วโมงใน 7 วันต่อ 1 สัปดาห์” ภู กระดาษ

คุยกับภู กระดาษ ว่าด้วยหนังสือ 24-7/1 มุมมองต่อเศรษฐกิจสังคม อัตลักษณ์ความเป็นลาว และความคาดหวังต่อการเขียนหนังสือ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

17 Dec 2021

Politics

29 Nov 2021

ภาพอนาคตในปัจจุบันและภาพปัจจุบันในอนาคตของประเทศไทยใน “สุสานสยาม”

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง สุสานสยาม ของปราปต์ วรรณกรรมดิสโทเปียที่เสนอปัญหา วิพากษ์ สะท้อน และเสียดสีสังคมไทย ผ่านเรื่องราวในพื้นที่สมมติ ‘โรงงานขยะสยามอลังการ’ ที่เมื่ออ่านแล้วต้องย้อนคิดกันอีกครั้งว่าตกลงแล้วคือเรื่องจริงหรือเรื่องแต่งกันแน่ เพราะเรื่องราวช่างคล้ายกับสังคมไทยตอนนี้เสียเหลือเกิน!

อาทิตย์ ศรีจันทร์

29 Nov 2021

Life & Culture

17 Nov 2021

ข้างหลังภาพของสี่แผ่นดิน นิยายแห่งยุคสมัย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงวรรณกรรมสองเล่มที่เป็นภาพแทนอุดมการณ์อันแตกต่างคือ ข้างหลังภาพ และ สี่แผ่นดิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Nov 2021

Life & Culture

18 Oct 2021

‘ความตายของโกโบริ’ กับ ‘ฆาตกรที่ชื่ออังศุมาลิน’ : คู่กรรมบนถนนสังคมการเมืองไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนอ่าน ‘คู่กรรม’  ผ่านตัวบทและบริบทสังคมไทยในแต่ละยุคสมัย เนื้อหาของคู่กรรมทาบทับกับการเมืองไทยอย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Oct 2021

Life & Culture

16 Sep 2021

เมื่อนักเขียนไทยเลี้ยวขวา และวรรณกรรมถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์ คุยกับชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

101 ชวน รศ.ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ มาคุยว่าด้วยเรื่องลักษณะทางวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปของวงการวรรณกรรมไทย และคุณค่าความหมายของวรรณกรรมในโลกปัจจุบัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Sep 2021

Life & Culture

26 Jul 2021

ขุดรากเหง้าที่ถูกเหมบเต็ง : มาโนช พรหมสิงห์

คุยกับมาโนช พรหมสิงห์ ว่าด้วยเรื่องการขุดดินปลูกดอกไม้ ขุดความคิดเพื่อสร้างสวนอักษร และขุดรากเหง้าความเป็นลาวที่ถูกกลบฝัง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

26 Jul 2021

Life & Culture

28 Jun 2021

โอ้แม่มหากวีศรีศตวรรษที่ 21 : ว่าด้วยการวิพากษ์ ‘แวดวงวรรณกรรมไทย’ และเรื่องราวอื่นๆ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงรวมเรื่องสั้น ‘โอ้แม่มหากวีศรีศตวรรษที่ 21’ ผลงานของ ‘นันดานี’ ที่วิพากษ์และเสียดสี พร้อมทั้งบริภาษ ‘แวดวงวรรณกรรมไทย’ ได้อย่างถึงพริกถึงขิงและน่าฟังเป็นที่สุด

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Jun 2021

Life & Culture

26 Apr 2021

วิธีอ่าน สาวไห้ นวนิยายเล่มแรกสุดของ วิตต์ สุทธเสถียร โดยมิยอมเปิดเผยเนื้อหา

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนอ่าน ‘เสาไห้’ นวนิยายเล่มแรกของ ‘วิตต์ สุทธเสถียร’ นักเขียนคนสำคัญในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

26 Apr 2021

Books

28 Jan 2021

24-7/1: ประวัติศาสตร์ การเขียนประวัติศาสตร์ นิยาย และการเมืองไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงนวนิยาย 24-7/1 ผลงานของ ภู กระดาษ ที่ตีความประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแบบใหม่ โดยไม่ตกอยู่ภายใต้เงาของประวัติศาสตร์ของชนชั้นนำกรุงเทพฯ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Jan 2021

Books

30 Dec 2020

สถานการณ์ยังเป็นปกติบนความอัปลักษณ์ที่ดำเนินอย่างต่อเนื่อง

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงรวมเรื่องสั้น “สถานการณ์ยังเป็นปกติ” ผลงานของ สมุด ทีทรรศน์​ ที่เมื่ออ่านแล้วต้องย้อนกลับมามองสังคมไทยกันอีกครั้งว่ามีอะไรผิดปกติบ้างหรือไม่

อาทิตย์ ศรีจันทร์

30 Dec 2020

Books

24 Nov 2020

ดับเบิ้ลซีไรต์ (อีกแล้ว) กับความน่าเหนื่อยหน่ายของวรรณกรรมไทย (อีกครั้ง)

อาทิตย์ ศรีจันทร์ วิจารณ์รางวัลวรรณกรรมซีไรต์ ที่ชวนให้ตั้งคำถามว่าเกณฑ์การตัดสินและการมอบรางวัลเปลี่ยนแปลงเท่าทันความก้าวหน้าด้านวรรณกรรมและคุณค่าในสังคมไทยหรือยัง

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Nov 2020

Thai Politics

29 Oct 2020

“ในฝันอันเหลือจะกล่าว” ของเดือนวาด พิมวนา กับความจริงอันเหลือจะกล่าวได้เช่นกัน

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงนวนิยาย ‘ในฝันอันเหลือจะกล่าว’ ของเดือนวาด พิมวนา ที่บันทึกเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองยุคกปปส. และการรัฐประหารโดยคสช.อย่างตรงไปตรงมา พร้อมทำหน้าที่วิจารณ์วรรณกรรมไทยไปพร้อมกัน

อาทิตย์ ศรีจันทร์

29 Oct 2020

Books

1 Oct 2020

วรรณกรรมและชีวิตของ กําพล นิรวรรณ นักปฏิวัติผู้พ่ายแพ้

สัมภาษณ์ กําพล นิรวรรณ เจ้าของผลงานรวมเรื่องสั้น ‘อาถรรพ์ภาพวาดเสือดำ’ ว่าด้วยชีวิตและความคิด

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

1 Oct 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save