fbpx

Economic Focus

9 Apr 2020

จากมาตรการสู้ COVID-19 ถึงการปฏิรูประบบงบประมาณไทย กับ ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ

101 ชวน ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สนทนาเรื่องการบริหารงบประมาณสู้ภัย COVID-19 และการปฏิรูประบบงบประมาณไทย

วจนา วรรลยางกูร

9 Apr 2020

Justice & Human Rights

3 Apr 2020

นัทธี จิตสว่าง : 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ และก้าวต่อไปเรือนจำไทย

คุยกับ ดร.นัทธี จิตสว่าง ถึง 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ สำรวจสถานะปัจจุบันของเรือนจำไทย และมองไปยังอนาคตในการพัฒนาเชิงนโยบาย

วจนา วรรลยางกูร

3 Apr 2020

Film & Music

28 Mar 2020

The Silent Revolution หนุ่มสาว, อย่าให้เขาทุบทำลายเธอ

คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น

วจนา วรรลยางกูร

28 Mar 2020

Thai Politics

16 Mar 2020

นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ : สิทธิมนุษยชนเกิดไม่ได้ ในรัฐธรรมนูญที่ซ่อนเร้นการละเมิด

วจนา วรรลยางกูร สนทนากับ นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ อดีต ส.ว. เลือกตั้ง และอดีต กสม. ถึงการยกระดับสิทธิเสรีภาพในสังคมไทยที่จะต้องทำไปพร้อมกับการพัฒนาประชาธิปไตยและการมีรัฐธรรมนูญที่ยึดโยงกับประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

16 Mar 2020

Thai Politics

9 Mar 2020

โภคิน พลกุล : ประเทศไปต่อไม่ได้ หากไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ โภคิน พลกุล คณะกรรมการยุทธศาสตร์พรรคเพื่อไทย ถึงแนวทางการยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่เพื่อเป็นทางออกของสังคมไทย

วจนา วรรลยางกูร

9 Mar 2020

Life & Culture

2 Mar 2020

เติมเต็มความเป็นมนุษย์ ด้วยมานุษยวิทยา ผ่านสายตา นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

วจนา วรรลยางกูร สนทนากับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ถึงการมองโลกผ่านมานุษยวิทยา และความเป็นไปได้อันหลากหลายที่สาขาวิชานี้จะเข้าไปพัฒนาส่วนต่างๆ ของสังคม

วจนา วรรลยางกูร

2 Mar 2020

Thai Politics

14 Feb 2020

ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ทางอุดมการณ์: ความตายระลอกสองของคณะราษฎร

วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจประเด็นการทำลายอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมผ่านสารคดี The Destruction of Memory และสะท้อนสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับมรดกคณะราษฎรในมุมมองของ ชาตรี ประกิตนนทการ

วจนา วรรลยางกูร

14 Feb 2020

Thai Politics

13 Jan 2020

หาคำตอบในหลุมดำการเลือกตั้ง 62 กับ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ถึงรายงาน ‘คะแนนที่ถูกจัดการ’ ที่ชี้ถึงสิ่งผิดปกติมากมายในการเลือกตั้ง 2562

วจนา วรรลยางกูร

13 Jan 2020

Spotlights

8 Jan 2020

เออเชนี เมรีโอ : ประเทศพันลึกภายใต้ ‘ประชาธิปไตยแบบถูกควบคุม’

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ เออเชนี เมรีโอ ถึงการมองสังคมไทยผ่านวิธีคิดการเขียนรัฐธรรมนูญที่มีส่วนสร้าง ‘รัฐพันลึก’

วจนา วรรลยางกูร

8 Jan 2020

Justice & Human Rights

27 Dec 2019

สิทธิมนุษยชน 2019 : สูญหาย บานปลาย ห่างไกลความเป็นธรรม

วจนา วรรลยางกูร ชวนทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนและความเป็นธรรมในสังคมผ่านผลงานตลอดปี 2019 ของ 101 ที่ทำให้เห็นถึงปัญหารอบด้านอันเรียงร้อยกลายเป็นสังคมปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

27 Dec 2019

Film & Music

2 Dec 2019

โลกของ ‘เมียฝรั่ง’ เรื่องเล่าที่ไม่มีผู้ชายอีสาน ในสังคมที่ไม่มีอนาคต

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงสารคดี Heartbound เรื่องการแต่งงานข้ามชาติของสาวอีสานกับผู้ชายเดนมาร์ก ที่เกิดจากการจับคู่ของ ‘สมหมาย’ หญิงไทยคนแรกในหมู่บ้านที่เดนมาร์ก

วจนา วรรลยางกูร

2 Dec 2019

Thai Politics

19 Nov 2019

‘เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ’ การเมืองในละคร และ ‘คณะราษฎร’ ผู้รับบทตัวร้ายตลอดกาล

101 คุยกับ เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ ถึงภาพของคณะราษฎรที่ปรากฏผ่านละครในฐานะ ‘ตัวร้าย’ การเมืองในละครหลังข่าว และทิศทางความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมละครไทย

วจนา วรรลยางกูร

19 Nov 2019

Film & Music

10 Nov 2019

The Lovers on the Bridge รักของคนบ้ากับคุณค่าของความเห็นแก่ตัว

คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงภาพยนตร์ฝรั่งเศสเมื่อปี 1991 ที่ให้มุมมองที่แตกต่างไปถึงเรื่องคนไร้บ้านและเรื่องความรักที่เต็มไปด้วยความต้องการ

วจนา วรรลยางกูร

10 Nov 2019

Justice & Human Rights

4 Nov 2019

คุยกับ ภูมิ ภูมิรัตน ประเทศไทยต้องรอดใน Digital Transformation

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ภูมิ ภูมิรัตน ถึงทิศทางความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสร้างความยุติธรรมในสังคม

วจนา วรรลยางกูร

4 Nov 2019
1 6 7 8 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save