fbpx

World

6 Dec 2022

‘ยูเครน’ ผ่านม้วนฟิล์มของ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีจากยูเครนตะวันออก

แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Dec 2022

Life & Culture

25 Nov 2022

101 In Focus Ep.156 : การเมืองในบอลโลก

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยว่าด้วยการเมืองเบื้องหลังฟุตบอลโลก เราจะมองเรื่อง ‘นอกสนาม’ อย่างไรให้แหลมคม เมื่อฟุตบอลไม่ใช่แค่การส่งลูกไปมาในสนามเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องอีกมากมายอยู่หลังผืนหญ้าอันยิ่งใหญ่นี้

กองบรรณาธิการ

25 Nov 2022

Life & Culture

21 Nov 2022

บอลโลกในสนามการเมือง: การช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงฟุตบอลโลกอาร์เจนตินา 1978 และรัสเซีย 2018 ที่ล้วนปกครองด้วยระบอบเผด็จการในเวลาที่จัดการแข่งขัน เพื่อสะท้อนการช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา

21 Nov 2022

Thai Politics

30 Sep 2022

NO WAR Not MY KING ข้อคิดจากอังกฤษและรัสเซีย

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เปรียบเทียบปูตินกับการสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยใหม่จากภาพการทำสงครามบุกยูเครน และกรณีควีนเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคต กับการปรับตัวของสถาบันกษัตริย์

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

30 Sep 2022

Europe

19 Sep 2022

Train «Kyiv–War» ความหวังสู่ ‘สันติภาพ’ บนเส้นทางสู่ ‘สงคราม’

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล เขียนถึงสารคดี Train «Kyiv–War» สารคดีที่บันทึกห้วงความคิดและความหวังของชาวยูเครนต่อสงครามดอนบาสในภาคตะวันออกของยูเครน บนขบวนรถไฟที่มุ่งหน้าสู่สงคราม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Sep 2022

Global Affairs

30 Aug 2022

‘ห้องครัว’ จากพื้นที่ครอบครัวสู่การขับเคี่ยวช่วงสงครามเย็น

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองดีเบตเรื่องห้องครัวสมัยสงครามเย็น ระหว่าง ริชาร์ด นิกสัน กับ นิกิตา ครุสชอฟ ที่งัดข้อดีของครัวแบบตัวเองมาเพื่อยืนยันหลักการทางการเมือง

มัธธาณะ รอดยิ้ม

30 Aug 2022

World

31 May 2022

คอสโมนอตคนแรกแห่งอุษาคเนย์: โซเวียตกับการช่วยสร้างชาติเวียดนาม

เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

31 May 2022

World

30 May 2022

เจ็บกี่ครั้งก็ยังไม่จบง่าย: เกาะเหนือที่ญี่ปุ่นอ้างกรรมสิทธิ์ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงของท่าทีญี่ปุ่นต่อรัสเซียที่สะท้อนผ่านกรณีข้อพิพาทดินแดนทางตอนเหนือกลางวิกฤตยูเครน จากที่มีท่าทีรอมชอม ยอมประสานผลประโยชน์กับรัสเซียเพื่อให้ดำเนินการเจรจาได้อย่างราบรื่น ไปสู่ท่าทีที่ ‘แน่วแน่’ สละความคืบหน้าในการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อร่วมจัดการวิกฤตและรักษาผลประโยชน์ของระเบียบโลกไว้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

30 May 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

World

4 Apr 2022

‘สหภาพยูเรเชีย’: จักรวรรดิจินตกรรมของปูติน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมโนทัศน์ของปูตินเรื่องจักรวรรดิจินตกรรมในนามของ ‘สหภาพยูเรเชีย’ ผ่านประวัติศาสตร์สังคมการเมืองของรัสเซีย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Apr 2022

World

1 Apr 2022

‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

1 Apr 2022

PopCapture

30 Mar 2022

ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

30 Mar 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

Global Affairs

22 Mar 2022

บทเรียนจากการถล่มเลนินกราดถึงสมรภูมิเคียฟ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

22 Mar 2022

World

21 Mar 2022

ว่าด้วยรัสเซีย-สแกนดิเนเวียในประวัติศาสตร์ช่วงยาววว

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังคุกรุ่น ในคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ปรีดี หงษ์สต้น สำรวจประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับสแกนดิเนเวียในอดีตและปัจจุบัน

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Mar 2022
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save