ทำไมเศรษฐกิจรัสเซียถึงไม่ล่มสลาย แต่กลับกลายเป็นดีกว่าที่คาด?
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ หาคำตอบว่าทำไมเศรษฐกิจรัสเซียถึงยังไม่ล่มสลาย แม้จะโดนมาตรการคว่ำบาตรจากชาติตะวันตก แถมยังดีกว่าที่คาด

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ หาคำตอบว่าทำไมเศรษฐกิจรัสเซียถึงยังไม่ล่มสลาย แม้จะโดนมาตรการคว่ำบาตรจากชาติตะวันตก แถมยังดีกว่าที่คาด
แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Korney Gritsyuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี
101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยว่าด้วยการเมืองเบื้องหลังฟุตบอลโลก เราจะมองเรื่อง ‘นอกสนาม’ อย่างไรให้แหลมคม เมื่อฟุตบอลไม่ใช่แค่การส่งลูกไปมาในสนามเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องอีกมากมายอยู่หลังผืนหญ้าอันยิ่งใหญ่นี้
ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงฟุตบอลโลกอาร์เจนตินา 1978 และรัสเซีย 2018 ที่ล้วนปกครองด้วยระบอบเผด็จการในเวลาที่จัดการแข่งขัน เพื่อสะท้อนการช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ
อายุษ ประทีป ณ ถลาง เปรียบเทียบปูตินกับการสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยใหม่จากภาพการทำสงครามบุกยูเครน และกรณีควีนเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคต กับการปรับตัวของสถาบันกษัตริย์
ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล เขียนถึงสารคดี Train «Kyiv–War» สารคดีที่บันทึกห้วงความคิดและความหวังของชาวยูเครนต่อสงครามดอนบาสในภาคตะวันออกของยูเครน บนขบวนรถไฟที่มุ่งหน้าสู่สงคราม
มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองดีเบตเรื่องห้องครัวสมัยสงครามเย็น ระหว่าง ริชาร์ด นิกสัน กับ นิกิตา ครุสชอฟ ที่งัดข้อดีของครัวแบบตัวเองมาเพื่อยืนยันหลักการทางการเมือง
เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต
ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงของท่าทีญี่ปุ่นต่อรัสเซียที่สะท้อนผ่านกรณีข้อพิพาทดินแดนทางตอนเหนือกลางวิกฤตยูเครน จากที่มีท่าทีรอมชอม ยอมประสานผลประโยชน์กับรัสเซียเพื่อให้ดำเนินการเจรจาได้อย่างราบรื่น ไปสู่ท่าทีที่ ‘แน่วแน่’ สละความคืบหน้าในการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อร่วมจัดการวิกฤตและรักษาผลประโยชน์ของระเบียบโลกไว้
อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมโนทัศน์ของปูตินเรื่องจักรวรรดิจินตกรรมในนามของ ‘สหภาพยูเรเชีย’ ผ่านประวัติศาสตร์สังคมการเมืองของรัสเซีย
จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)
ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย
101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า