จะมีรัฐสวัสดิการ รัฐบาลต้องทำอะไรบ้าง ? : สำรวจการทำงานของรัฐบาลเดนมาร์ก
โกษม โกยทอง เขียนถึงเบื้องหลังการจัดการและระบบการสร้างรัฐสวัสดิการที่เข้มแข็งของรัฐบาลเดนมาร์ก เพื่อสร้างตาข่ายสังคมให้ประชาชนอย่างเท่าเทียม

โกษม โกยทอง เขียนถึงเบื้องหลังการจัดการและระบบการสร้างรัฐสวัสดิการที่เข้มแข็งของรัฐบาลเดนมาร์ก เพื่อสร้างตาข่ายสังคมให้ประชาชนอย่างเท่าเทียม
101 PUB ชวนคิดเรื่องการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบถ้วนหน้าและแบบคัดกรองผ่านมุมมองทางการคลัง แต่ละรูปแบบมีข้อดีข้อเสียอย่างไร
101 PUB ประเมินนโยบายเด่นที่หกพรรคการเมืองใหญ่ใช้หาเสียง เพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566
สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงการประท้วงระบบเงินบำนาญถ้วนหน้าที่ฝรั่งเศส ซึ่งสะท้อนให้เห็นความสำคัญของสวัสดิการในยุโรปมาจนถึงไทย
101 พูดคุยกับแรงงานนอกระบบ 4 อาชีพ 4 ช่วงวัย ถึงชีวิตอัน ‘ขัดสน เปราะบาง ไร้หลักประกัน’ ในโอกาสที่การเลือกตั้งใกล้เข้ามา พวกเขาเหล่านี้อยากสะท้อนอะไรไปถึงรัฐบาลชุดใหม่
101 PUB ชวนสำรวจแนวคิดและความสำคัญของ ‘เงินประกันการว่างงาน’ ในฐานะหลักประกันคุณภาพชีวิต – มิใช่เพียงสำหรับผู้ว่างงาน แต่รวมถึงเราทุกคนในระบบเศรษฐกิจเดียวกัน – ก่อนชวนวิเคราะห์ปัญหาของระบบประกันของไทย พร้อมเสนอแนวทางยกระดับหลักประกันนี้
คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้เอาใจแฟนงานเขียนและซีรีส์แบบ นอร์ดิค นัวร์ เรื่องราวธริลเลอร์ สืบสวนสอบสวนท่ามกลางบรรยากาศหม่นมัวและมักพูดถึงการฆาตกรรมกับความบิดเบี้ยวของรัฐ
101 PUB ชวนสำรวจปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย เข้าใจช่องโหว่ของนโยบายเงินอุดหนุนเกษตรกรในปัจจุบันที่ยิ่งทำก็เหมือนยิ่ง ‘ขุดหลุมฝังประเทศ’ พร้อมทั้งเสนอแนวทางเปลี่ยนสวัสดิการเติมรายได้ให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน
โกษม โกยทอง เขียนถึง เส้นทางการกำเนิดรัฐสวัสดิการในโลกตะวันตกและข้อถกเถียงในการสร้างรัฐสวัสดิการในแต่ละรูปแบบ
ค่าจ้างขั้นต่ำของไทยไม่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน 101 PUB เสนอให้ใช้แนวคิด ค่าจ้างเพื่อชีวิต (Living Wage) แทนแนวคิดเดิมในปัจจุบัน
โกษม โกยทอง เขียนถึง เส้นทางการก่อสร้างร่างรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก ซึ่งมีประชาชนเป็นพลังสำคัญในการต่อสู้และขับเคลื่อนให้รัฐสวัสดิการเกิดขึ้นจริง
101 สนทนากับ รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการต่อสู้เรื่องสวัสดิการแรงงาน ผลกระทบของระบบทุนนิยมต่อชีวิตผู้คน และเส้นทางสู่ ‘รัฐสวัสดิการ’ ในวันที่ ‘ข้าวของแพง-ค่าแรงถูก’
เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
101 ชวน รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ขับเคลื่อนเรื่องรัฐสวัสดิการ มาพูดคุยว่าด้วยเรื่อง ‘แรงงาน’ และ ‘รัฐสวัสดิการ’ ในวันที่ ‘ข้าวของแพง-ค่าแรงถูก’
โกษม โกยทอง เขียนถึงเส้นทางกว่าจะเป็นรัฐสวัสดิการของสวีเดน พวกเขาผ่านอะไรมาบ้าง และสังคมทำอย่างไรในการประนีประนอมคนทุกชนชั้นให้เห็นผลประโยชน์ร่วมกัน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า