fbpx

World

12 Dec 2022

กิจการต่างประเทศของไทยกับเวลาที่หายไปหลังรัฐประหาร 2014

สุภลักษณ์เขียนถึงกิจการต่างประเทศของไทยในยุคของประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ดูเหมือนว่าจะถอยหลังลงเพราะความไม่เข้าใจโลกและรัฐบาลมีที่มาจากรัฐประหาร

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

12 Dec 2022

Politics

31 Oct 2022

การต่อสู้ที่ไม่จบสิ้นของ ‘วิญญัติ ชาติมนตรี’ ทนายจำเลยคดีการเมืองในโลกสองมาตรฐาน

101 พูดคุยกับวิญญัติ ชาติมนตรี ถึงชีวิตที่ผ่านมาของเขาตั้งแต่ก่อนเข้าสู่โลกกฎหมายและจุดเปลี่ยนแปลงในชีวิตทนายความที่เริ่มมาทำคดีการเมืองอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

31 Oct 2022

Thai Politics

24 May 2022

ปีกอนุรักษนิยม ครองอำนาจแต่ไม่ครองใจ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ตั้งข้อสังเกต 10 ประการที่ทำให้ฝ่ายอนุรักษนิยมไทย ไม่สามารถครองใจประชาชนได้ แม้ครองอำนาจมาแล้วยาวนาน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

24 May 2022

Thai Politics

22 May 2022

8 ปี รัฐประหาร: จงเติม __ (ชื่อระบอบ) __ ในช่องว่าง

8 ปีที่ผ่านมา อำนาจคสช. พาประเทศไทยไปสู่ระบอบการเมืองแบบไหนกันแน่? ครบรอบ 8 ปีรัฐประหาร 101 ชวนสำรวจหลาก ‘นิยาม’ การเมืองการปกครองภายใต้รัฐบาลประยุทธ์ ผ่าน 6 คำอธิบายจาก 6 นักวิชาการในเกือบรอบทศวรรษที่ผ่านมา

กองบรรณาธิการ

22 May 2022

Thai Politics

28 Jul 2021

ความตกต่ำของภาพลักษณ์ของทหาร

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงภาพลักษณ์ของกองทัพไทยที่ตกต่ำลงเรื่อยๆ นับตั้งแต่รัฐประหารปี 2557 ด้วยเรื่องอื้อฉาวที่มีมาต่อเนื่อง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

28 Jul 2021

Politics

8 Jul 2021

“วันที่รู้ว่าโดน 112 เหมือนโลกถล่มแผ่นดินทลาย” ณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ กับชีวิตผู้ลี้ภัยในต่างแดน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

8 Jul 2021

Thai Politics

22 Oct 2020

Exclusive ‘หนูหริ่ง-ลำธาร’: ฟังพ่อลูกคุยกัน ในวันที่การเมืองมาเคาะประตูบ้าน

‘ครอบครัว’ จะเผชิญหน้ากับการเมืองและรับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ทั้งหนูหริ่งและลำธารเป็นหนึ่งในผู้มีประสบการณ์ ควรค่าแก่การไถ่ถามและรับฟัง

ธิติ มีแต้ม

22 Oct 2020

Thai Politics

21 May 2020

บนถนนสายตาสว่าง: กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์

ภาวะตาสว่างทางการเมืองของคนเสื้อแดงในทศวรรษที่ผ่านมาเป็นแบบไหน ท่ามกลางความสูญเสีย มวลชนเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร อ่านทัศนะจาก ‘กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์’

ธิติ มีแต้ม

21 May 2020

Thai Politics

5 Feb 2020

สนทนาบนลานยิ้มกับ ‘นลธวัช มะชัย’ ผู้หันหลังให้ทุนปริญญา-หันหน้าสู่ละครชีวิต

คุยกับ ‘กอล์ฟ’ นลธวัช มะชัย หนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มลานยิ้มการละคร นักเรียนทุนผู้หันหลังให้ระบบการศึกษาในรั้วมหา’ลัย

ธิติ มีแต้ม

5 Feb 2020

Law

13 Nov 2019

ทำไมอาจารย์กฎหมายจึง ‘อยู่เป็น’ ภายใต้อำนาจรัฐประหาร

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตอบคำถามว่าอะไรเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์อาจารย์กฎหมาย ‘อยู่เป็น’ โดยไม่มีการแสดงออกเพื่อปกป้องหลักการทางกฎหมายที่พร่ำสอนต่อลูกศิษย์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Nov 2019

Thai Politics

29 Oct 2019

คนเหล็ก 2019

ธิติ มีแต้ม เล่าให้ลูกฟังในคอลัมน์ ‘เมื่อเวลามาถึง’ ถึงหนังสือ 1 เล่ม และเพลง 1 อัลบั้ม ที่เป็นบันทึกแห่งยุคสมัยและเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ของคนหัวใจแกร่ง

ธิติ มีแต้ม

29 Oct 2019

Thai Politics

6 Aug 2019

ชีวิตใหม่ของคนนอกขนบ ‘อั้ม เนโกะ’ และเส้นทางต่อสู้เพื่อสิทธิ LGBT

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ อั้ม เนโกะ ผู้ลี้ภัยการเมืองไทยและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิ LGBT ในฝรั่งเศส ถึงชีวิตใหม่หลังเดินทางออกจากประเทศไทย และการทำงานเพื่อผู้อพยพที่มีความหลากหลายทางเพศ

วจนา วรรลยางกูร

6 Aug 2019

Videos

3 Jul 2019

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “ชาวบ้านรุกป่า”

ทำไมชาวบ้านถึงติดคุกจาก “นโยบายทวงคืนผืนป่า” ของรัฐบาล คสช. ผลกระทบดังกล่าวสะท้อนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของรัฐไทยอย่างไร

ธิติ มีแต้ม

3 Jul 2019

Thai Politics

19 Apr 2019

ผู้ไม่ไปสวรรค์กวีรุจีรัตน์ : กวีราษฎร ตอนที่ 1

ธิติ มีแต้ม เขียนถึงไม้หนึ่ง ก.กุนที กวีเสื้อแดงที่ถูกยิงตายใจกลางเมืองครบ 5 ปี อาจกล่าวได้ว่าไม้หนึ่งน่าจะเป็นคนแรกที่พูดคำว่า “สถาปนาสถาบันประชาชน”

ธิติ มีแต้ม

19 Apr 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save