fbpx

World

9 Dec 2021

มองรัฐธรรมนูญที่ไม่เคยถูกแก้: ทำไมรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นถึงมีอายุยาวนาน

อรรยา ตั้งรัตนโชติกุล เขียนถึงที่มาและลักษณะของรัฐธรรมประเทศญี่ปุ่น เพราะเหตุใดจึงมีอายุยาวนานกว่า 74 ปี และไม่เคยถูกแก้ไขเลยสักครั้งนับแต่กำเนิดขึ้นมา

อรรยา ตั้งรัตนโชติกุล

9 Dec 2021

Politics

11 Aug 2021

“ถ้าระบอบประชาธิปไตยรอด สถาบันกษัตริย์ก็จะรอดด้วย” Tom Ginsburg

สมคิด พุทธศรีสนทนากับทอม กินสเบิร์ก ว่าด้วย ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแบบไทยๆ ในสายตา ‘คนนอก’

สมคิด พุทธศรี

11 Aug 2021

Thai Politics

18 Jul 2021

ชำแหละ 3 ระบบเลือกตั้ง เลือกตั้งแบบไหน ได้อะไร เสียอะไร?

101 เปรียบเทียบ 3 ข้อเสนอระบบเลือกตั้ง โดยลองคำนวณที่นั่ง ส.ส.ในสภาผ่านแต่ละระบบด้วยผลการเลือกตั้งปี 2554 เพื่อให้เห็นชัดๆ ว่าระบบไหนดี-เสียอย่างไร พรรคไหนได้เปรียบ-เสียเปรียบ

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

18 Jul 2021

Thai Politics

26 Apr 2021

สร้างสรรค์-ยืดหยุ่น-มีส่วนร่วม : ถึงเวลานโยบายสาธารณะต้องคิดขึ้นจากโจทย์ของประชาชน

101 ถอดความจากงานเสวนา Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา ครั้งที่ 5 ‘นโยบายสาธารณะ’ เพื่อพูดคุยหาข้อเสนอถึงแนวทางการออกแบบนโบายสาธารณะที่จะตอบโจทย์ประชาชนอย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ

26 Apr 2021

Constitution Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา

1 Apr 2021

อิสระ – เป็นธรรม – รับผิดชอบ : ข้อเสนอใหม่ รีเซ็ต ‘องค์กรอิสระ’ ไทย

101 ถอดความจากงานเสวนาออนไลน์ Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา ครั้งที่ 4 ‘องค์กรอิสระ’ ร่วมขบคิดเพื่อออกแบบองค์กรอิสระให้กลับมาพร้อมความเป็นอิสระที่แท้จริง มีความรับผิดชอบและยึดโยงกับประชาชน รวมทั้งอาจจะต้องทบทวนถึงความจำเป็นและอำนาจหน้าที่ที่พึงมีขององค์กรอิสระแต่ละองค์กรอีกครั้ง

กองบรรณาธิการ

1 Apr 2021

Politics

23 Mar 2021

เมื่อศาลรัฐธรรมนูญตั้งตนเหนือศาลอื่น : พิทักษ์หรือบั่นทอนรัฐธรรมนูญ?

ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชวนมองประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้มติที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดขัดรัฐธรรมนูญ จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงการขยายอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ

ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์

23 Mar 2021

Law

27 Jan 2021

ถอดบทเรียนทรัมป์ ถอดบทเรียนกฎหมายรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ถอดบทเรียนจากรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา เมื่อรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ของสรัฐอเมริกาส่งผลให้ระบบการเมืองมีร่องรอยของความล้าหลัง และกลายเป็นปัญหาเมื่อผู้นำอย่างโดนัลด์ ทรัมป์ขึ้นสู่อำนาจ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

27 Jan 2021

Talk Programmes

21 Jan 2021

101 One-on-One Ep.208 ‘ตอบโจทย์ประเทศไทย 2564 : โควิด รัฐธรรมนูญ การเมืองท้องถิ่น’ กับ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ

101 ชวน ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าคณะก้าวหน้า อดีตหัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ ตอบโจทย์อนาคตประเทศไทย 2564 ว่าด้วยการจัดการวิกฤตโควิด-19, ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ และอนาคตของการเมืองท้องถิ่นไทย ชวนคุยกันสดๆ โดย ยิ่งชีพ อัชฌานนท์

101 One-on-One

21 Jan 2021

Talk Programmes

14 Jan 2021

101 One-on-One Ep.206 “จาก ม.112 ถึงรัฐธรรมนูญ : โจทย์การเมืองไทยแห่งปี 2564” กับ พริษฐ์ วัชรสินธุ

สนทนากับ ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ กลุ่มรัฐธรรมนูญก้าวหน้า ว่าด้วยสองโจทย์ใหญ่ของการเมืองไทยปี 2564 เพื่อร่วมหาคำตอบว่า สังคมไทยจะเปลี่ยนผ่านอย่างสันติได้อย่างไร

101 One-on-One

14 Jan 2021

Law

23 Dec 2020

ปฐมคำถาม อำนาจปฐมสถาปนา และอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองเรื่องอำนาจปฐมสถาปนา อันเป็นอำนาจที่มาก่อนการเกิดรัฐธรรมนูญ และคำถามใหญ่คืออำนาจนั้นได้มาจากไหน?

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

23 Dec 2020

Thai Politics

9 Dec 2020

ราษฎร์ธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล สรุปกรอบร่างทางความคิดของ ‘ราษฎร์ธรรมนูญ’ จากการเคลื่อนไหวของ ‘ราษฎร’ ที่มีการนำเสนออย่างหลากหลายในหลัก 6 ประการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

9 Dec 2020

Thai Politics

1 Dec 2020

แนวคิดเรื่องการมีระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศสยามก่อน 2475

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนย้อนมองพัฒนาการของแนวคิดการปกครองประเทศไทยด้วยระบอบรัฐธรรมนูญที่เริ่มก่อตัวในสังคมมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5-6-7 ก่อนลงเอยด้วยการอภิวัฒน์ 2475

กษิดิศ อนันทนาธร

1 Dec 2020

World

30 Nov 2020

Magna Carta หลักศิลาประชาธิปไตย ปฐมบทปฏิรูปสถาบันกษัตริย์อังกฤษ

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึง Magna Carta เอกสารข้อตกลงลดทอนอำนาจของกษัตริย์ให้อยู่ภายใต้กฎหมาย เมื่อกว่า 800 ปีที่แล้ว ที่กลายมาเป็นหลักในการร่างรัฐธรรมนูญของหลายประเทศ

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Nov 2020

Law

28 Oct 2020

ปาฐกถาเปลี่ยนโลกกับโลกที่ไม่ยอมเปลี่ยน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปรากฏการณ์ในวงการนิติศาสตร์ไทย หลังปาฐกถา ‘นิติรัฐอภิสิทธิ์และราชนิติธรรม’ อันสะท้อนช่องว่างของความรู้ความเข้าใจระหว่างวงการนิติศาสตร์กับสังคมส่วนใหญ่ที่กว้างขึ้นเรื่อยๆ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

28 Oct 2020

Democracy

10 Oct 2020

“ประชาธิปไตยในขั้วโลก” กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น

กองบรรณาธิการ

10 Oct 2020
1 2 3 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save