Global Affairs

3 Sep 2024

การป้องปรามในทางตรงข้าม ท่ามกลางโลกที่เสี่ยงเสียสมดุล

ในวันที่ ‘การป้องปราม’ กลายเป็นเครื่องมือหลักในการยับยั้งสงครามแห่งยุคสมัย แต่สันติภาพที่ตั้งอยู่บนกลไกเช่นนี้ก็แสนจะเปราะบาง ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจเหตุการณ์ความขัดแย้งที่กำลังปะทุขึ้นในหลายมุมโลก ซึ่งสะท้อนด้านตรงข้ามหรือการเสียสมดุลในการป้องปราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

3 Sep 2024

World

12 Jun 2023

100 ปี เฮนรี คิสซินเจอร์: ร่องรอยความคิดของ ‘บุรุษสงครามเย็น’ ในระเบียบโลก

คิสซินเจอร์ ‘คิด’ ต่อความเป็นไปของโลกตลอดเวลาที่ผ่านมาอย่างไร? โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบไหนที่คิสซินเจอร์ตั้งไว้? อะไรคือมรดกทางความคิดที่คิสซินเจอร์ฝากไว้ในโลกการเมืองระหว่างประเทศ? และเราควรทำความเข้าใจคิสซินเจอร์ด้วยหมวกใบไหนกันแน่?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jun 2023

World

27 Feb 2023

1 ปีที่ยังไม่สิ้นสุดของสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

สงครามดำเนินไปอย่างไรบ้างในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา? สงครามที่แปรเปลี่ยนไปเป็น ‘สงครามพร่ากำลัง’ จะยืดเยื้อต่อไปอีกนานแค่ไหน? ฉากทัศน์ต่อไปของสงครามคืออะไร? สงครามเปลี่ยนดุลอำนาจและสั่นสะเทือนระเบียบโลกไปอย่างไรบ้าง? 101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

27 Feb 2023

101 One-on-One

15 Feb 2023

101 One-on-One Ep.291 ระเบียบโลกหลัง 1 ปีสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

101 One-on-One

15 Feb 2023

World

31 Jan 2023

‘โรคยังระบาด สงครามยังรบต่อ อากาศยังผันผวน’ โลก 2023 ในวันที่ยังไม่เห็นแสงสว่างปลายอุโมงค์ กับ สุรชาติ บำรุงสุข

ในเมื่อโลกยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ 101 สนทนากับ สุรชาติ บำรุงสุข ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยโจทย์วิกฤตโลกที่เรายังต้องเผชิญต่อไปในอนาคต ทิศทางของระเบียบโลกกลางสงครามเย็นครั้งใหม่ในศตวรรษที่ 21 และที่ทางของการเมืองไทย-การต่างประเทศไทยในกระแสลมแห่งการเลือกตั้ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

31 Jan 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

World

8 Mar 2022

ปูติน ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลก แต่ดันเข้าทางสหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกที่ถูกสั่นคลอนโดยสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งย้อนศรความตั้งใจของรัสเซียที่จะ ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลกให้เข้าทางรัสเซีย-จีน นำไปสู่ความได้เปรียบของสหรัฐฯ และโลกสองขั้วที่แยกห่างออกจากกันยิ่งขึ้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Mar 2022

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

Global Affairs

2 Feb 2021

‘Beating the Crisis’ กับ ศุภวุฒิ สายเชื้อ

101 ชวน ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ที่ปรึกษากลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม CARE วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวันที่ยากลำบากที่สุด และพาไปมองภูมิทัศน์โลกในวันที่เจอวิกฤต เพื่อทำความเข้าใจว่าความเป็นไปทั้งหลายส่งผลต่อประเทศไทยอย่างไร

กองบรรณาธิการ

2 Feb 2021

Global Affairs

15 Jan 2021

จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2021 : วัคซีน-รอยต่อระเบียบโลก-เศรษฐกิจปั่น-การเมืองป่วน

เปิดวง Round Table ชวน อาร์ม ตั้งนิรันดร  ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย  มองปี 2021 ฝ่าวิกฤตที่อาจเรียกได้ว่าใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก

กองบรรณาธิการ

15 Jan 2021

Talk Programmes

7 Jan 2021

101 One-On-One Ep.204 | ไทยกับการเปลี่ยนแปลงสู่ระเบียบโลกใหม่ กับ ชโยดม สรรพศรี

101 พูดคุยกับรศ.ดร.ชโยดม สรรพศรี อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในคณะนักวิจัยของโครงการศึกษาทิศทางการเปลี่ยนแปลงสู่ระเบียบโลกใหม่ เพื่อวิเคราะห์ว่าระเบียบโลกกำลังจะเดินไปทิศทางไหน ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบและจะต้องปรับตัวอย่างไรบ้าง

101 One-on-One

7 Jan 2021

Global Affairs

4 Jan 2021

เมื่อโรคป่วนโลก: มองย้อน 2020 ปีแห่งการรื้อถอนและสั่นคลอนระเบียบโลก

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ชวนมองย้อนระเบียบโลกในปี 2020 เมื่อโรคเข้ามาป่วนโลกเช่นนี้ ดุลอำนาจในระเบียบโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร รวมถึงสำรวจสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในรอบปีที่ผ่านมา

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

4 Jan 2021

Issue of the Age

1 May 2020

8 นักคิด 8 จักรวาลความคิด มองโลกยุค COVID-19 (2)

วิกฤตไวรัส COVID-19 เผยให้เห็นวิกฤตอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่ใต้ภูเขาน้ำแข็ง? แล้วโลกหลังยุค COVID-19 จะหมุนต่อไปอย่างไร? 101 ชวนเปิดจักรวาลความคิดนักคิดระดับโลก สำรวจปัจจุบัน และมองไปยังอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 May 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save