รู้จัก ‘เผด็จการนักปลุกปั่น’ การปรับตัวของท่านผู้นำในยุคอินเทอร์เน็ต
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูเทรนด์ผู้นำเผด็จการในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนวิธีกระชับอำนาจจากการใช้กำลัง สู่การปลุกปั่นด้วยการใช้ข้อมูลข่าวสาร


รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูเทรนด์ผู้นำเผด็จการในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนวิธีกระชับอำนาจจากการใช้กำลัง สู่การปลุกปั่นด้วยการใช้ข้อมูลข่าวสาร
เป็นครั้งแรกหลังเลือกตั้ง 62 ที่ประชาชนในหลายจังหวัด ออกมาทำกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” เพราะไม่พอใจรัฐบาล ติดตามในสารคดีข่าวสั้น SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “ลุงอยากอยู่ยาว”
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา ระหว่างที่ผลการเลือกตั้งไทยยังไม่ชัดเจน เพื่อบอกตัวเองว่า “อย่าได้หมดหวังกับระบอบประชาธิปไตย”
ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สาม วรเจตน์ ภาคีรัตน์ วิพากษ์เนติบริกรและตุลาการภิวัตน์ในฐานะเครื่องมือของระบบรัฐประหาร
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สอง สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทยและสัญญาประชาคมใหม่
101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทย เริ่มคาบแรกด้วยมุมมองใหม่ในการเข้าใจการเมืองไทย – ระบบรัฐประหารในระบอบที่ตั้งชื่อไม่ได้
เจาะลึกชีวิตคณบดีผู้ออกมาไล่เผด็จการจนถูกดำเนินคดี ตั้งแต่นักเรียนขาสั้นถึงวัยหนุ่มฉกรรจ์ ก่อนหันหน้าเข้าหาโลกมานุษยวิทยา และการตั้งคำถามว่าอำนาจอธิปไตยไทยเป็นของใคร
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ เขียนถึง ‘มโนเครซี่’ รัฐประหารครั้งแรก 1 เมษายน 2476 และมรดกที่ถูกทิ้งไว้ให้กับคนรุ่นหลัง
จากนวนิยายเรื่อง An Artist of the Floating World ของคาซูโอะ อิชิกูโระ นักเขียนรางวัลโนเบลคนล่าสุด ถึงแนวคิด “มวลชน” ของ Hannah Arendt ธร ปีติดล พยายามคลี่หาคำตอบว่าทำไมระบอบที่โหดร้ายและกดขี่ข่มเหงเพื่อนมนุษย์อย่างนาซีในเยอรมนีและฟาสซิสต์ในอิตาลี ถึงได้มีผู้คนสนับสนุนมากมาย
ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดห้องเรียนนาซีศึกษา สนทนากับ อันโตนีโอ โฉมชา เรื่อง “โฮโลคอสต์” (holocaust) หรือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว และบทเรียนสำหรับสังคมไทย
พลอย ธรรมาภิรานนท์ ตอบคำถาม ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า