Politics

24 Jan 2023

“จุดไฟแล้วส่งต่อ อย่าให้ดับ” วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวันที่ต้องยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงใช้เวลามากกว่าที่คิด

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มองภาพกว้างสังคมไทยว่าเราควรทำความเข้าใจอย่างไรต่อระบอบการปกครองที่เป็นอยู่นี้ คุณค่าหลักที่อยู่ในรัฐธรรมนูญคืออะไรและจะส่งผลอย่างไรต่อการต่อสู้ทางการเมือง จนถึงประเด็นที่ชวนคิดต่อการเลือกตั้ง 2566

วจนา วรรลยางกูร

24 Jan 2023

Law

18 Dec 2022

Same Same But Different: รัฐธรรมนูญเยอรมันและการกลายพันธุ์ในรัฐธรรมนูญไทย กับ ปูนเทพ ศิรินุพงศ์

101 สนทนากับปูนเทพ ศิรินุพงศ์ ถึงการรับเข้าแนวคิดในรัฐธรรมนูญเยอรมันและการกลายพันธุ์ในรัฐธรรมนูญไทย จนถึงปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นกับระบบรัฐธรรมนูญไทยที่ดำเนินไปกับความไม่ชัดเจนของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

วจนา วรรลยางกูร

18 Dec 2022

Politics

10 Sep 2021

ปราศจากอคติและให้ความยุติธรรม ความหมายของ ‘พิพากษาในพระปรมาภิไธย’

101 ชวนอ่านความเห็นของ ธงทอง จันทรางศุ ต่อเรื่องบทบาทตุลาการกับการธำรงรักษาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ยั่งยืน และการทำงานในพระปรมาภิไธยนั้นควรมีหลักการอย่างไร

วจนา วรรลยางกูร

10 Sep 2021

Politics

11 Aug 2021

“ถ้าระบอบประชาธิปไตยรอด สถาบันกษัตริย์ก็จะรอดด้วย” Tom Ginsburg

สมคิด พุทธศรีสนทนากับทอม กินสเบิร์ก ว่าด้วย ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแบบไทยๆ ในสายตา ‘คนนอก’

สมคิด พุทธศรี

11 Aug 2021

Thai Politics

27 Oct 2020

‘เกษียร เตชะพีระ’ มองการเมืองไทยยุคหลังฉันทมติภูมิพล

101 คุยกับ เกษียร เตชะพีระ เพื่อทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในยุคหลังฉันทมติภูมิพล และความสุ่มเสี่ยงด้านต่างๆ ที่สังคมกำลังเผชิญ

วจนา วรรลยางกูร

27 Oct 2020

Thai Politics

17 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (ตอนจบ)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Jan 2020

Thai Politics

10 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (5)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 5 ว่าด้วยคณะราษฎรกับการจำกัดอำนาจกษัตริย์ไว้ใต้รัฐธรรมนูญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jan 2020

Spotlights

8 Jan 2020

เออเชนี เมรีโอ : ประเทศพันลึกภายใต้ ‘ประชาธิปไตยแบบถูกควบคุม’

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ เออเชนี เมรีโอ ถึงการมองสังคมไทยผ่านวิธีคิดการเขียนรัฐธรรมนูญที่มีส่วนสร้าง ‘รัฐพันลึก’

วจนา วรรลยางกูร

8 Jan 2020

Thai Politics

3 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (4)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 4 เรื่องข้อเสนอของฟรานซิส บี แซร์และแนวคิดต้นแบบของรัฐธรรมนูญฝ่ายอนุรักษนิยม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

3 Jan 2020

Thai Politics

27 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 3 ว่าด้วยปัญหาการบริหารงานที่เป็นโจทย์การจัดการปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

27 Dec 2019

Thai Politics

20 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (2)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 2 ว่าด้วยการตั้งต้นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่อีกครั้งหนึ่งในปี 2489 อันเกิดจากบทบาทของปรีดี พนมยงค์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

20 Dec 2019

Thai Politics

13 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยชิ้นใหม่ ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กับแนวคิดและเงื่อนไขทางการเมืองในการฟื้นฟูสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475’ ในรูปแบบบทความชุดความยาว 6 ตอนจบ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Dec 2019

Thai Politics

13 Feb 2019

‘เหนือการเมือง’ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ไล่เรียงประวัติศาสตร์ของคำว่า ‘เหนือการเมือง’ ซี่งปรากฏขึ้นตั้งแต่หลังการอภิวัฒน์ 2475 ก่อนจะถูกตีความและปรับเปลี่ยนความหมายเรื่อยมา โดยเฉพาะในห้วงเวลาที่เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อทางการเมือง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Feb 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save