ความรุนแรงที่ฝังลึก สิทธิเด็กที่ขาดหาย กฎหมายที่บกพร่อง : ถอดรหัสสังคมไทยในคมกระสุน
สรุปวงเสวนา ประเทศไทยในคมกระสุน: ชะตากรรมเด็กและสังคมไทยภายใต้โครงสร้างแห่งความรุนแรง’ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2566
สรุปวงเสวนา ประเทศไทยในคมกระสุน: ชะตากรรมเด็กและสังคมไทยภายใต้โครงสร้างแห่งความรุนแรง’ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2566
Multiverse of Justice : ความยุติธรรมในโลกหลากมิติ
101 สนทนากับ พิเศษ สอาดเย็น ผอ. TIJ ในวันที่ระบบยุติธรรมถึงเวลาต้องมองคนเป็นศูนย์กลาง และมองความยุติธรรมในมิติที่หลากหลายมากขึ้น
101 ถอดความจากงานเสวนาว่าด้วยต้นทุนของการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมของไทย ที่อาจแพงเกินไปจนทำให้คนไม่อาจเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม
101 ชวน ยุทธภูมิ มาตรนอก อดีตผู้ต้องหา ม.112 สะท้อนประสบการณ์การเผชิญความไม่เป็นธรรมที่พัดพาให้เขาต้องเข้าคุกเพียงเพราะทะเลาะกับคนในครอบครัว
101 ชวนมองปัญหาของระบบยุติธรรมในอาเซียนท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 และการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล พร้อมหาแนวทางปฏิรูประบบยุติธรรมให้ตอบโจทย์อนาคต
101 ชวนมองสถานการณ์ระบบยุติธรรมของอาเซียนในช่วงเวลาแห่งการระบาดของโควิด-19 ที่ต้องเจอความท้าทายและภัยคุกคามที่ซับซ้อนมากขึ้น
101 คัดประเด็นจากวงเสวนา ‘Public Forum : “จินตนาการใหม่ ระบบยุติธรรมไทย”’ มาสะท้อนภาพ ‘ยุติ-ธรรมอำพราง’ ที่กำลังเกิดขึ้น
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ พาดูผลการศึกษาที่พิสูจน์ให้เห็นว่า คำตัดสินของผู้พิพากษามักไม่มีความคงเส้นคงวา
ฉัตร คำแสง ตั้งคำถามว่า จะดีกว่าหรือไม่หากเราจะใช้ AI ตัดสินคดีแทนผู้พิพากษา ในเมื่อมีผลการศึกษายืนยันว่า AI ตัดสินคดีได้เป็นธรรมกว่า
101 ถอดความจากงานประชุม Crime Congress ในหัวข้อ “A Decade of the Bangkok Rules: Advancements, Challenges and Opportunities” ซึ่งพูดคุยถึงการนำข้อกำหนดกรุงเทพไปใช้ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลกตลอด 10 ปีที่ผ่านมา พร้อมมองสู่อนาคตของข้อกำหนดดังกล่าว เพื่อเรือนจำที่ปลอดภัยและเป็นทางเลือกสุดท้ายในการลงโทษ
เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปีของข้อกำหนดกรุงเทพ 101 สนทนากับ มิวะ คาโต้ ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการของ UNODC ย้อนมองการใช้ข้อกำหนดกรุงเทพในการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิงในหลายประเทศทั่วโลก
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย พาไปรู้จักเรือนจำต้นแบบ ‘เรือนจันแลนด์’ ที่จันทบุรี เรือนจำที่ส่งเสริมให้ผู้ต้องขังมีอาชีพ และส่งต่อความหวังให้ผู้คนเสมอ รวมถึงสร้างความสัมพันธ์ชุมชนกับเรือนจำให้เข้าใจกันมากขึ้น
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงคณะสอบสวนพิเศษของสหรัฐฯ ที่ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบประธานาธิบดีโดยเฉพาะ อันสะท้อนให้เห็นการถ่วงดุลอำนาจในระบอบประชาธิปไตย โดยมิต้องหวังพึ่ง ‘อำนาจนอกระบบ’
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า