“การตั้งคำถามไม่ใช่เรื่องผิด” พลอย ทะลุวัง กับเสียงเรียกร้องแห่งยุคสมัย
บทสัมภาษณ์ ‘พลอย ทะลุวัง’ เยาวชนที่ละทิ้งการศึกษาในระบบเพื่อออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองจนโดนคดี 112


บทสัมภาษณ์ ‘พลอย ทะลุวัง’ เยาวชนที่ละทิ้งการศึกษาในระบบเพื่อออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองจนโดนคดี 112
ผลงานพาร์ตที่ 2 จากความร่วมมือระหว่าง 101 และ Rappler มองปฏิบัติการไอโอในไทย ที่มีการผสมผสานกับการใช้กฎหมาย เพื่อเล่นงานคนเห็นต่าง จากตัวอย่างในประเด็นวัคซีนโควิด-19
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนข้อโต้แย้งต่อคำพิพากษาของศาลในคดีของนรินทร์ จำเลยในคดีมาตรา 112 จากการติดสติกเกอร์ “กูkult” ลงบนพระบรมสาทิสลักษณ์ ร.10
101 สนทนากับ หฤษฎ์ มหาทน นักเขียนไลต์โนเวลและเจ้าของร้านราเมงที่โดนดำเนินคดี 112 ในปี 2016 แม้ล่าสุดศาลเพิ่งวินิจฉัยยกฟ้องกรณีดังกล่าว หากแต่ความดำมืดของหกปีที่โดนคดี และการโดนขังฟรี 70 วัน ดูจะยังทิ้งบาดแผลไว้ตรงไหนสักแห่ง
อติเทพ ไชยสิทธิ์ ตั้งข้อสังเกตถึงความเชื่อมโยงระหว่างการวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์และความกตัญญูในฐานะพ่อกับลูก
101 ชวน อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาทำความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมเพื่อร่วมออกแบบอนาคตสังคมไทย
101 สนทนากับ ผศ.สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ ถึงผลกระทบจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในคดีล้มล้างการปกครองและคดีสมรสเท่าเทียม บทบาทหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ไทย
101 POSTSCRIPT คุยข่าวนอกสคริปต์ กับ วิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์ EP.8 : ฝุ่นตลบกลบตำแหน่ง ‘แคนดิเดตผู้ว่าฯ กทม.-ปธ.วิปรัฐบาล’
ประมวลภาพ #ม็อบ31ตุลา #ราษฎรประสงค์ยกเลิก112 จัดโดยกลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม ในวันที่ 31 ตุลาคม 2564
31 ตุลาคม 2564 กลุ่มราษฎรรวมตัวชุมนุมบริเวณแยกราชประสงค์ภายใต้ชื่อกิจกรรม ‘ราษฎรประสงค์ยกเลิก 112’ ซึ่งในงานมีการปราศรัยหลากหลายเวที และการออกบูธทำกิจกรรมจากกลุ่มต่างๆ รวมถึงการเปิดโต๊ะเข้าชื่อยกเลิกกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยกลุ่มคณะราษฎรรณรงค์ยกเลิก 112
วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน
เปิดประตูไปดูนิทรรศการ ‘สุขสลาย’ งานศิลปะที่พาเราไปโอบกอดความเจ็บปวดของผู้ที่ถูกกระทำโดยรัฐ เพื่อตั้งคำถามกับความมืดมิดและเงียบงันที่ซุกซ่อนความอยุติธรรมในสังคมไทย
101 คุยกับ วิบูลย์ บุญภัทรรักษา หรือ ทนายอู๊ด พ่อของไผ่ ดาวดิน เกี่ยวกับมุมมองที่เขามีต่อศาลเรื่องคดีการเมือง มาตรา 112 และปัญหาที่แท้จริงของศาลไทย
ย้อนมองความเห็นเรื่องการแก้ไขกฎหมายอาญามาตรา 112 ในอดีต ทั้งในมุมมองนักกฎหมายและฝ่ายรอยัลลิสต์
11 พฤษภาคม 2564 ศาลมีคำสั่งให้ปล่อยตัวชั่วคราว เพนกวิน-พริษฐ์ ชิวารักษ์ และ แอมมี่-ไชยอมร แก้ววิบูลย์พันธุ์ หลังมีการไต่สวนตั้งแต่ช่วงเช้าถึงบ่าย โดยกำหนดเงื่อนไขว่าห้ามกระทำการตามที่ถูกฟ้องหรือเข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความวุ่นวายในบ้านเมือง ห้ามเข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความเสื่อมเสียต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ห้ามเดินทางออกนอกประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล และให้มาศาลตามกำหนดนัดโดยเคร่งครัด
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า