3 ‘V’ แห่งความท้าทายเศรษฐกิจไทย
สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึง 3V Variants-Vaccine-Vulnerable สามความท้าทายที่เข้ามาปั่นป่วนเศรษฐกิจไทยและต้องฝ่าฟันให้ได้ในย่างก้าวเข้าปีที่ 2 ของการระบาดของโควิด-19
สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึง 3V Variants-Vaccine-Vulnerable สามความท้าทายที่เข้ามาปั่นป่วนเศรษฐกิจไทยและต้องฝ่าฟันให้ได้ในย่างก้าวเข้าปีที่ 2 ของการระบาดของโควิด-19
ชวนท่องโลก สำรวจบทเรียนรับมือโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย ลาตินอเมริกา และแอฟริกา
ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่โควิด-19 ระบาดไปทั่วโลก แต่ละพื้นที่มีลักษณะเฉพาะของปัญหาอย่างไร และมีรูปแบบการแก้ปัญหาอย่างไร
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงปัญหาคนปฏิเสธวัคซีน และความสมเหตุสมผลเชิงนโยบายของการแก้ปัญหาด้วยมาตรการจ่ายเงินจูงใจให้คนไปรับวัคซีน
อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนมองวิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในอู่ฮั่น รวมถึงวิเคราะห์ความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาดที่สะท้อนลักษณะเด่นของสังคมจีนยุคปัจจุบัน
101 ลงพื้นที่โรงเรียนเพลินพัฒนา และ โรงเรียนศูนย์รวมน้ำใจ สำรวจมาตรการป้องกันโควิด-19 ในโรงเรียนก่อนที่เปิดเทอมจะมาถึง
พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช สำรวจวิวาทะว่าด้วย ‘ระดับหนี้สาธารณะที่เหมาะสม’ ในวงวิชาการระดับโลก เพื่อตั้งคำถามถึงสถานะทางการคลังของประเทศไทยในยุควิกฤตโควิด-19
สถานการณ์วิกฤต COVID-19 เข้าสู่การเปิดเมืองเฟสที่สาม การรับมือวิกฤตสุขภาพและวิกฤตเศรษฐกิจต่างสำคัญไม่แพ้กัน ความท้าทายคือเราจะหาสมดุลระหว่างการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่ต้องกลับมาให้เมืองมีชีวิตและผู้คนได้ใช้ชีวิต กับการควบคุมโรคที่อาจจะต้องจำกัดชีวิตเมืองและผู้คนอย่างไร
โจทย์เดิมในเฟสใหม่นี้มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง สมดุลใหม่อยู่ตรงไหน นโยบายรัฐต้องปรับอย่างไร
เมื่อโควิด-19 มาเยือน ประเทศที่เจอภัยพิบัติบ่อยเป็นอันดับต้นๆ อย่าง ‘ญี่ปุ่น’ มีมาตรการรับมืออย่างไร โรคระบาดกระทบกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของญี่ปุ่นอย่างไรบ้าง และชะตากรรมของ ‘โตเกียวโอลิมปิก’ จะเป็นอย่างไรในห้วงยามแห่งโรคระบาดนี้
รวมผลงานจากการระดมสมองมองอนาคต เพื่อแสวงหาปัญญาฝ่าวิกฤต COVID-19 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และวาระโลก โดยกอง บ.ก. The101.world
101 ชวนอ่านกลยุทธ์การเปิดเมืองผ่านสายตา 5 นักเศรษฐศาสตร์ -วราพงศ์ วงศ์วัชรา, ชัญญา พันธจารุนิธิ, สรา ชื่นโชคสันต์, รุจา อดิศรกาญจน์ และ สุพริศร์ สุวรรณิก – เพื่อเพื่อหาทางเลือกที่ ‘เหมาะสมที่สุด’ สำหรับอนาคตอันใกล้
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงท่าทีต่อความตายจากโรคระบาดที่ไม่ได้มีแค่ผู้ติดเชื้อโดยตรง แต่ยังมีคนที่ได้รับผลกระทบและใช้การฆ่าตัวตายเป็นทางออก
สมคิด พุทธศรี เขียนถึง โมเดล ‘เศรษฐกิจโรคระบาด’ ของ Joshua Gans ที่นำเสนอการบริหารจัดการเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบในโลกยุคหลังโควิด-19
สนทนากับ ณัฐกานต์ อมาตยกุล และ นิติธร สุรบัณฑิตย์ ว่าด้วยมาตรการรับมือโควิด-19 ของเกาหลีและไต้หวัน การคัดกรองที่ครอบคลุม การใช้เทคโนโลยีรวบรวมและสื่อสารข้อมูล ภายใต้วิถีการจัดการแบบประชาธิปไตยที่โปร่งใส และเน้นการมีส่วนร่วม
วิมุต วานิชเจริญธรรม วิเคราะห์ประโยชน์และต้นทุนของนโยบายปิดเมือง เพื่อตอบคำถามว่าผลได้จากการหยุดยั้งโรคระบาดคุ้มค่ากับความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นหรือไม่
101 ชวน นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ผู้มีส่วนร่วมในการเดินหน้าระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มาอัพเดทสถานการณ์ล่าสุดเรื่องมาตรการสู้ COVID-19 ในหลายมิติ จากการป้องกันโรค การควบคุมโรค ถึงการรักษาโรค
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า