World

4 Apr 2025

ระบบตุลาการสหรัฐฯ: ปราการแรกในการฉุดรั้งความเสื่อมถอยของประชาธิปไตยในอเมริกา

ท่ามกลางความเสื่อมถอยของประชาธิปไตยในอเมริกา ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนจับตาจังหวะก้าวสำคัญของสถาบันตุลาการ อันจะเป็นปราการแรกในการยับยั้งการสถาปนาระบอบอำนาจนิยมของโดนัลด์ ทรัมป์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Apr 2025

World

7 Mar 2025

‘การปฏิวัติของสามัญสำนึก’ (Common Sense Revolution): โดนัลด์ ทรัมป์แถลงครั้งแรกต่อสภาคองเกรส

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์คำแถลงนโยบายต่อรัฐสภาครั้งแรกของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ที่ทำให้เห็นความคิดและความเชื่อเบื้องหลัง อันปูไปสู่ปัญหาอีกมากต่อสหรัฐอเมริกาและโลก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Mar 2025

มองอเมริกา

6 Feb 2025

โดนัลด์ ทรัมป์กับ ‘การปฏิวัติ’ ที่ระส่ำระสายที่สุดในประวัติศาสตร์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของทรัมป์หลังรับตำแหน่งว่าเป็น ‘การปฏิวัติ’ ที่ไม่มียุทธศาสตร์ ซึ่งนำโดย ‘King Donald’ ผู้หมกมุ่นและหลงใหลในชื่อเสียง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

6 Feb 2025

มองอเมริกา

12 Jan 2025

ว่าด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ทรัมป์ในอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์นโยบายต่างประเทศของทรัมป์ 2 อันเป็นการสร้างความยิ่งใหญ่ของตัวผู้นำจนสะท้อนภาพระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ทรัมป์ในอเมริกา (Trump Absolutism)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

12 Jan 2025

มองอเมริกา

10 Oct 2024

การสร้างประธานาธิบดีสหรัฐฯ: หนทางอันไม่ธรรมดาของกมลา แฮร์ริส

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนพิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จากทั้งสองพรรคคือ โดนัลด์ ทรัมป์ และกมลา แฮร์ริส

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

10 Oct 2024

มองอเมริกา

5 Jul 2024

ประชาธิปไตยในอเมริกาจะเป็นดาวฤกษ์หรือดาวร่วง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ผลต่อเนื่องจากคำตัดสินศาลสูงสุดสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งและการรักษาประชาธิปไตยท่ามกลางความขัดแย้งแตกแยกอย่างหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Jul 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

US

1 Mar 2024

ฐานะและอำนาจของสถาบันตุลาการควรอยู่เหนือฝ่ายนิติบัญญัติไหม: การทบทวนโดยตุลาการ (judicial review)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ตีความเรื่องการทบทวนโดยตุลาการ (judicial review) ในเฟเดอรัลลิสต์หมายเลขที่ 78 ของอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน ต่อเนื่องจากทัศนะของวีระ สมบูรณ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Mar 2024

มองอเมริกา

2 Feb 2024

ไพรมารีโหวตอันขรุขระของรีพับลิกัน: ความพ่ายแพ้ของผู้ชนะ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สถานการณ์ของพรรครีพับลิกันในการเลือกตั้งสหรัฐฯ 2024 เมื่อโดนัลด์ ทรัมป์มีวี่แววจะชนะไพรมารีและเป็นตัวแทนพรรคชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ทั้งที่ยังมีคดีความข้อหาหนักรออยู่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Feb 2024

World

12 Jan 2024

อำนาจอันสัมบูรณ์ของประธานาธิบดีมีไหม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองเรื่องอำนาจอันสัมบูรณ์ของประธานาธิบดีสหรัฐฯ และบทแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ 14 ที่ศาลสูงใช้ตัดสิทธิทรัมป์ในการลงเลือกตั้งไพรมารี อันเป็นมรดกการแก้ไขรัฐธรรมนูญจากยุคปลดปล่อยทาสผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

12 Jan 2024

US

5 Oct 2023

สี่ประธานาธิบดี: ไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกหญิงเลือกตั้ง ‘ผู้เริ่มแรก’ ในการเมืองอเมริกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งเสียชีวิต โดยชวนย้อนมองบทบาทการทำงานในพรรคเดโมแครตและในสภา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Oct 2023

World

31 Aug 2023

60 ปีแห่งความฝันของคนผิวดำ: ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ที่มีความหมาย

ปาฐกถาของ ดร.คิง ผ่านมาครบ 60 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณจึงชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำในอเมริกา เมื่อเหตุการณ์ช่วงนั้นกลายเป็นหนึ่งใน ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ท่ามกลางการต่อสู้ที่ทอดยาวมาถึงปัจจุบัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

31 Aug 2023

World

7 Jul 2023

อนาคตของ ‘ระบอบปูติน’ จะถูกม้วนด้วย ‘หิรันตยักษ์’ หรือไม่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความเป็นมาของระบอบปูติน เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันหลังมีการทำสงครามบุกยูเครนและเกิดกบฏวากเนอร์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jul 2023
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save