World

22 Jan 2024

โลก 20 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร? มองการเมืองโลกแบบมองไกล และมองประเทศไทยแบบจงเตรียมพร้อม

การเมืองโลก 20 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร และไทยต้องเตรียมพร้อมอย่างไร ชวนอ่านบทวิเคราะห์จากทีมวิจัย Foresight Team

ปิ่นนิล บ้านสวนมะปราง

22 Jan 2024

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

World

16 Oct 2023

ขั้วโลกเหนือ ตอนที่ 2: จากน้ำท่วมสู่การระบาดครั้งใหญ่

ปิติ ศรีแสงนาม เล่าถึงพื้นที่ ‘ขั้วโลกเหนือ’ ที่ถือเป็นจุดเสี่ยงสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและโรคอุบัติใหม่ ที่อาจกระทบถึงไทย

ปิติ ศรีแสงนาม

16 Oct 2023

Global Affairs

11 Oct 2023

ตรรกะการเมืองโลกและการกลับมาของภูมิรัฐศาสตร์ – คุยกับ มาร์ค ศักซาร์

101 สนทนากับมาร์ค ศักซาร์ ว่าด้วยตรรกะของการเมืองโลกในวันที่ภูมิรัฐศาสตร์กลายเป็นแว่นตาหลักในการเมืองระหว่างประเทศ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

11 Oct 2023

Global Affairs

3 Oct 2023

ขั้วโลกเหนือ ตอนที่ 1: จากความเงียบงันสู่การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์

ปิติ ศรีแสงนาม เล่าถึงพื้นที่ ‘ขั้วโลกเหนือ’ ที่กำลังเป็นอีกหนึ่งสมรภูมิการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างชาติมหาอำนาจ

ปิติ ศรีแสงนาม

3 Oct 2023

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

Global Affairs

3 Apr 2023

เรื่องน่ายินดี (?) ท่ามกลางความขัดแย้งภูมิศาสตร์โลกบาดาล

ปิติ ศรีแสงนาม พูดถึงสนธิสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยทะเลหลวง ที่เพิ่งสามารถสรุปผลเจรจา ซึ่งจะเป็นหมุดหมายสำคัญในการจัดการความขัดแย้งทางภูมิศาสตร์โลกบาดาล

ปิติ ศรีแสงนาม

3 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อาร์กติก 2030: พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาสแห่งอนาคต

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง 3 พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาส ที่ขับเคลื่อนการเมืองในภูมิภาคอาร์กติก หลังผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแปรสภาพให้ภูมิภาคอาร์กติกกลายเป็นสมรภูมิทางภูมิรัฐศาสตร์ และมีหลายประเทศหมายตา ‘อาร์กติก’ เพิ่มขึ้น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

29 Mar 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

Global Affairs

22 Feb 2023

ความขัดแย้งทางภูมิศาสตร์โลกบาดาล: จุดเปราะบางบนพื้นดินท้องทะเลระหว่างประเทศ

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงพื้นที่ใต้โลกบาดาล อันเป็นแหล่งทรัพยากรสำคัญ จนถือได้ว่าเป็นจุดเปราะบางต่อความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลก

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Feb 2023

101 One-on-One

15 Feb 2023

101 One-on-One Ep.291 ระเบียบโลกหลัง 1 ปีสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

101 One-on-One

15 Feb 2023

Global Affairs

25 Jan 2023

Cyberspace: ภูมิรัฐศาสตร์-เศรษฐกิจใหม่ และความขัดแย้งในอนาคต

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง cyberspace พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ใหม่ที่อาจลุกลามเป็นสนามแห่งความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์-เศรษฐกิจของโลก

ปิติ ศรีแสงนาม

25 Jan 2023

101 One-on-One

8 Nov 2022

101 One-on-One Ep. 282 ‘ASEAN – G20 – APEC ไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก?’ กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 คุยกับ ปิติ ศรีแสงนาม ในเดือนแห่งการประชุม ASEAN, G20 และ APEC มองทิศทางสถานการณ์โลก พร้อมมองที่ทางของไทยในภูมิรัฐศาสตร์โลกใหม่

101 One-on-One

8 Nov 2022

Spotlights

28 Jun 2022

ยุทธศาสตร์ไทยในกระดานหมากล้อมมหาอำนาจ – อาร์ม ตั้งนิรันดร

ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร วิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศในวันที่ระเบียบโลกถูกขับเคลื่อนด้วยการแข่งขันระหว่างสองยักษ์มหาอำนาจจีน-สหรัฐอเมริกา

กองบรรณาธิการ

28 Jun 2022

World

8 Oct 2021

ไทยในเกมภูมิรัฐศาสตร์โลก: ยุทธศาสตร์ 3M

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ยุทธศาสตร์ 3M ยุทธศาสตร์สำหรับการตั้งหลักไทยให้มั่นในโลกที่การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสองขั้วอำนาจจีน-สหรัฐฯ ดำเนินไปอย่างเข้มข้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Oct 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save