Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต
พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป
101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนคุยเรื่องวิชาประวัติศาสตร์ ในห้องเรียนของครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ครูวิชาสังคมศึกษา โรงเรียนกำเนิดวิทย์ จังหวัดระยอง ว่าด้วยห้องเรียนประวัติศาสตร์ที่เต็มไปด้วยการตั้งคำถาม
สนทนากับครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ว่าด้วยการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่การจำไปสอบ ความสำคัญของการตั้งคำถาม ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนอยากรู้แต่ครูไม่อยากสอน ไปจนถึงห้องเรียนและหลักสูตรในฝันที่ไม่กักขังทั้งครูและนักเรียน
สำรวจการเรียนประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นรุ่นใหม่ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว พร้อมตอบคำถามสำคัญ จะทำอย่างไรให้วิชาประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับนักเรียน ห้องเรียนประวัติศาสตร์ในฝันควรเป็นอย่างไร
สรุปความจาก 101 Public Forum “เปิดเทอมใหม่เอาไงดี? : ปรับโรงเรียน – เปลี่ยนครู – ปฏิรูปการเรียนรู้” โดย กสศ. และ 101
เสวนาระดมสมอง มองไปข้างหน้ารับเปิดเทอมใหม่ เพื่อหานโยบายและมาตรการที่ ‘ใช่’ ในการเปลี่ยนผ่านการศึกษาและการเรียนรู้ในภาวะฉุกเฉินไปสู่สถานการณ์ปกติ
ร่วมคิดและออกแบบการเรียนรู้เพื่อคืน ‘ทุกคน’ สู่โรงเรียนและห้องเรียนในห้วงเวลาที่ท้าทายที่สุด –พ่อแม่ต้องเตรียมตัวอย่างไร เด็กต้องปรับตัวแบบไหน ครูต้องเปลี่ยนอะไร โรงเรียนต้องปรับอย่างไร และนโยบายและมาตรการแบบไหนที่ลดความเสียหายจากวิกฤตการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึงหนังสือ ‘เซเปียนส์ ประวัติย่อมนุษยชาตื’ 1 ใน 5 เล่มที่ได้รับคะแนนสูงสุดจากโปรเจ็กต์ ความน่าจะอ่าน 2018-2019
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ หยิบเอา Silence: In the Age of Noise มาคิดต่อ ความเรียงเชิงปรัชญาของอาร์ลิง คอกเก (Erling Kagge) นักสำรวจชาวนอร์วีเจียนผู้เดินทางพิชิตสามขั้วโลก (เหนือ ใต้ และเอเวอเรสต์) ได้ตั้งแต่อายุสามสิบต้นๆ
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ อ่าน ‘Utopia for Realist’ ของรุตเบอร์ เบรกมันน์ นักประวัติศาสตร์หนุ่มชาวดัตช์ ว่าด้วยความใฝ่ฝันถึงสังคมอุดมคติ (Utopia) ที่ ‘เป็นไปได้’ ซึ่งหลายแนวคิดของเขานั้น แม้จะขัดสามัญสำนึกอยู่บ้าง แต่ก็มีน้ำหนักมากพอที่จะเขย่ากรอบคิดเดิมๆ ของเราให้สั่นคลอน
คอลัมน์ READ-O-SAPIENS เดือนนี้ ว่าด้วยเรื่องการโกหกของท่านผู้นำ หัวใจของการโกหกอยู่ตรงไหน ผู้นำโกหกกันบ่อยจริงไหม พวกเขาโกหกไปเพื่ออะไร และการโกหกเพื่อประเทศชาตินั้นมีกี่รูปแบบ
ภาคิน นิมมานรวงศ์ หยิบหนังสือ Why Leaders Lie: The Truth about Lying in International Politics (2011) ของ จอห์น เจ. มีร์ไชเมอร์ (John J. Mearsheimer) นักรัฐศาสตร์ชื่อดังชาวอเมริกัน มากางประเด็นเป็น ‘การโกหกเชิงยุทธศาสตร์’ 5 แบบใหญ่ๆ วิเคราะห์ถึงสาเหตุของการโกหกเหล่านั้นไว้อย่างน่าสนใจ
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึง เบสเมนต์ มูน นิยายเล่มล่าสุดของ ปราบดา หยุ่น ว่าด้วยโลกอนาคตในปี 2069 ที่ปัญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการคนเห็นต่างกับรัฐบาลเผด็จการ ในประเทศเผด็จการทั่วโลก หนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย นิยายเสียดสีอย่างแสบสันต์และพูดถึงปรัชญาไซไฟกับการเมืองได้น่าสนใจ
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ พาเข้าไปดูถึงโครงสร้างของทุนนิยม เมื่ออุดมการณ์ของทุนนิยมไม่ได้ถูกมองว่าเป็นอุดมการณ์อย่างหนึ่งเหมือนในช่วงสงครามเย็นอีกต่อไป ทว่ามันค่อยๆ ถูกพูดถึงราวกับเป็นข้อเท็จจริงทางสังคม และเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์มากที่สุด เราจะทำอย่างไรเมื่อทุนนิยมเรียกร้องให้ ‘ปัจเจกชน’ ต้องทำทุกทางเพื่อให้อยู่รอด
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ ชวนอ่าน Sapiens: A Brief History of Humankind โดย Yuval Noah Harari พลังของความจริงในจินตนาการมีส่วนในการสร้าง ‘โลก’ ที่มนุษย์เป็นใหญ่เหนือสิ่งมีชีวิตอื่นได้อย่างไร
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ ชวนคิดเรื่องภารกิจที่แท้จริงของครู การบูชาครู และความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ ผ่านหนังสือ Advice for a Young Investigator ของกาฆาล
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า