fbpx

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

Life & Culture

12 Mar 2024

จุดจบของคนกลั่นแกล้งครูบาศรีวิชัย

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับครูบาเจ้าศรีวิชัย และปลายทางของผู้ที่กลั่นแกล้งภิกษุผู้ถูกขนานนามว่าเป็นนักบุญแห่งล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

12 Mar 2024

ของบ่เล่ารู้ลืม

13 Feb 2024

บ้าน เมือง เวียง เชียง แช่ : ความหมายของชื่อชุมชนในล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนค้นหาความหมายของชื่อชุมชนในภาคเหนือ ซึ่งมักประกอบด้วยคำว่า บ้าน เมือง เวียง เชียง แช่ ซึ่งมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน

พริษฐ์ ชิวารักษ์

13 Feb 2024

Life & Culture

10 Jan 2024

ล้านนาเป็นอาณานิคมของสยามช่วงสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือไม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ขอเปิดปีด้วยข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ว่าสรุปแล้ว ล้านนาเคยเป็นอาณานิคมของสยามหรือไม่

พริษฐ์ ชิวารักษ์

10 Jan 2024

Life & Culture

6 Dec 2023

หม่าล่า กาแฟ กางเกงช้าง หนังมะเดี่ยว และโฟล์กซอง: ความแมส/ไม่แมสของล้านนาร่วมสมัย

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนคิดว่าด้วยความ ‘แมส/ไม่แมส’ ของวัฒนธรรมล้านนา และชวนถกเถียงต่อไปว่าแล้วอะไรคือความเป็นล้านนาที่ว่า วัฒนธรรมล้านนาร่วมสมัยถูกนับรวมหรือไม่

พริษฐ์ ชิวารักษ์

6 Dec 2023

Life & Culture

15 Nov 2023

การเมืองเรื่องคําว่า ‘ยวน’ ในตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ อภิปรายสาเหตุที่ไม่พบคําว่ายวนใน ‘ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่’ โดยอาศัยบริบททางประวัติศาสตร์และลักษณะการใช้คําในวรรณกรรมและจารึกชิ้นอื่นๆ ประกอบการตีความ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

15 Nov 2023

Life & Culture

18 Oct 2023

ฝรั่งมังค่า ทุ่งกุลาร้องไห้ และกุ้งกุลาดำ: มังค่าและกุลาคืออะไร?

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงที่มาของคำว่า ฝรั่งมังค่า ทุ่งกุลาร้องไห้ และกุ้งกุลาดำ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

18 Oct 2023

Life & Culture

7 Sep 2023

ลานนา ล้านนา: การเมืองเรื่องไม้โทกับอาณานิคมความรู้ในล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงวิวาทะว่าด้วยอักขรวิธีระหว่าง ‘ล้านนา’ กับ ‘ลานนา’ ที่ใช้เรียกพื้นที่ซึ่งปัจจุบันคือภาคเหนือตอนบนของไทย ต้นรากของการเลือกใช้คำมาจากไหน และความคิดแบบไหนที่อยู่เบื้องหลังการตัดสินใจเหล่านี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

7 Sep 2023

Life & Culture

13 Aug 2023

ล้านนาปฏิวัติ: การต่อสู้ของตนบุญในประวัติศาสตร์ล้านนา (ตอนสอง)

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ พาล่องไปในเรื่องเล่า ‘ตนบุญ’ แห่งเมืองนครลำปาง ในยุค ‘หาเจ้าบ่ได้’

พริษฐ์ ชิวารักษ์

13 Aug 2023

Life & Culture

17 Jul 2023

ล้านนาปฏิวัติ: การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา (ตอนแรก)

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ตอนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

17 Jul 2023

Human & Society

21 Jun 2023

ประวัติศาสตร์สร้างตัวตน ประชาชนจึงต้องสร้างประวัติศาสตร์: คุยกับพริษฐ์ ชิวารักษ์

101 ชวน เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ สนทนาถึงบทบาทของนักประวัติศาสตร์ และความสำคัญในการเขียนประวัติศาสตร์ชาติด้วยประวัติศาสตร์ประชาชน

จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำ

21 Jun 2023

Life & Culture

16 Jun 2023

คำปาฐกถาเรื่อง ‘เขียนสังคมใหม่ เขียนประวัติศาสตร์ประชาชน’ หรือ ‘เขียนประวัติศาสตร์ชาติด้วยประวัติศาสตร์ประชาชน’

คำปาฐกถาของพริษฐ์ ชิวารักษ์ ที่ไม่มีโอกาสได้กล่าวในโครงการประชุมวิชาการในวาระครบรอบ 55 ปี ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Jun 2023

Life & Culture

9 Jun 2023

ช้างเผือก: สัญลักษณ์อาณานิคมประจำจังหวัดเชียงใหม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง ‘ช้างเผือก’ สัญลักษณ์ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ที่ในอีกมุมหนึ่งก็เป็นสัญลักษณ์ที่ได้รับอิทธิพลจากการตกเป็นอาณานิคมสยามของล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

9 Jun 2023

Media

7 Jun 2023

101 One-on-One Ep.299 ปาฐกถาต้องห้าม ‘เขียนสังคมใหม่ เขียนประวัติศาสตร์ประชาชน’ กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

101 ชวน พริษฐ์ ชิวารักษ์ มากล่าวปาฐกถาที่เขาไม่ถูกอนุญาตให้พูด และคุยถึงประวัติศาสตร์ล้านนา ประวัติศาสตร์ของประชาชน รวมถึงบทบาทนักประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงสังคม

101 One-on-One

7 Jun 2023

Life & Culture

21 May 2023

‘ว่างแผ่นดิน’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนสนทนากับหนังสือ ‘ว่างแผ่นดิน’ โดยนิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่าด้วยประวัติศาสตร์ช่วง ‘ว่างแผ่นดิน’ ของอยุธยา อังวะ และด่ายเหวียด และชวนมองไปถึงล้านนาที่ไม่ถูกเขียนถึงในหนังสือเล่มนี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

21 May 2023
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save