fbpx

101PUB

30 Nov 2023

การกำกับดูแลเนื้อหาสื่อที่ยึด ‘คน’ เป็นหัวใจ: บทเรียนจากต่างประเทศ และ กสทช.

101 PUB ชวนประเมินการกำกับดูแลเนื้อหาสื่อของ กสทช. ที่ผ่านมา และตั้งหลักการกำกับดูแลเนื้อหาสื่อในยุคใหม่ ที่มีหลักสิทธิมนุษยชนเป็นแกนกลาง

พรรษาสิริ กุหลาบ

30 Nov 2023

Social Issues

6 Oct 2021

เมื่อสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนกลายเป็น ‘อภิสิทธิ์’?

ต้องเป็นสื่อมีสังกัดจึงมีสิทธิ์รายงานข่าว? พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทและความสำคัญของสื่อพลเมือง รวมถึงเหตุผลที่เราต้องปกป้องสิทธิเสรีภาพการรายงานข่าวของสื่อเหล่านี้

พรรษาสิริ กุหลาบ

6 Oct 2021

Social Issues

24 Aug 2021

เมื่อป้าย ‘Press’ ไม่ใช่เกราะกันกระสุน: การใช้ความรุนแรงต่อสื่อมวลชนคือการใช้ความรุนแรงต่อประชาชน

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการใช้ความรุนแรงต่อมวลชนและสื่อมวลชนผู้รายงานการประท้วงโดยเจ้าหน้าที่รัฐ และแนวทางปฏิบัติที่ไม่ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ

พรรษาสิริ กุหลาบ

24 Aug 2021

Podcast

5 Aug 2021

101 In Focus Ep.91 : ‘เฟกนิวส์- ดิสอินฟอร์เมชัน’ เมื่อการปิดกั้นไม่ใช่ทางออก

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยกันเรื่อง ‘เฟกนิวส์’ และ ‘ดิสอินฟอร์เมชัน’ อะไรคือความหมายของสองคำนี้ และมีวิธีการอย่างไรที่จะจัดการข้อมูลที่บิดเบือน โดยไม่ปิดกั้นเสรีภาพสื่อ ทั้งในวิกฤตโรคระบาดและสถานการณ์ความขัดแย้งในสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

5 Aug 2021

Politics

31 May 2021

โควิด-19 ความเหลื่อมล้ำ และสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการรายงานของสื่อในยุคโควิด-19 ผ่านกรณีสื่อสหรัฐฯ ที่นอกจากจะทำหน้าที่บอกเล่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมและในระบบสาธารณะสุขด้วย

พรรษาสิริ กุหลาบ

31 May 2021

World

7 Apr 2021

ประจานให้ได้เจ็บ: Doxxing วิธี (ไม่) ใหม่ในการปิดปากผู้เห็นต่าง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ

7 Apr 2021

Politics

22 Mar 2021

เมื่อนักข่าวต้องเผชิญมวลมหาผรุสวาจา (และกิริยา): การใช้ความรุนแรงต่อสื่อที่สนับสนุนโดยรัฐ

จากกรณีนายกรัฐมนตรีฉีดสเปรย์แอลกอฮอลใส่สื่อมวลชน พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงปัญหาการใช้ความรุนแรงที่หนุนโดยรัฐต่อนักข่าวที่นำไปสู่การบั่นทอนประชาธิปไตย ผ่านกรณีการโจมตีนักวารสารศาสตร์หญิงชาวฟิลิปปินส์ทางออนไลน์ และมองย้อนมาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในไทย

พรรษาสิริ กุหลาบ

22 Mar 2021

Politics

3 Mar 2021

คำถามถึง “คุณค่า” ของสื่อวารสารศาสตร์ ในวันที่ความรุนแรงถูกเพิกเฉย

พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนทบทวนคุณค่าของสื่อวารสารศาสตร์ (อีกครั้ง) ในคืนวันที่รัฐใช้ความรุนแรงต่อผู้ชุมนุม

พรรษาสิริ กุหลาบ

3 Mar 2021

Science & Innovation

28 Jan 2021

ปัญญาประดิษฐ์กับงานวารสารศาสตร์: การประสานงานที่ (ต้องเป็น) มากกว่าการเพิ่มผลผลิต

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงที่ทางของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) กับงานด้านวารสารศาสตร์ ในยุคที่บางคนบอกว่านักข่าวจะตกงาน เพราะเทคโนโลยีจะมาทำงานแทน

พรรษาสิริ กุหลาบ

28 Jan 2021

Thai Politics

12 Jan 2021

เราพูดอะไรได้บ้างในสังคมนี้? : พื้นที่สื่อสารที่ปลอดภัยกับการทำความเข้าใจและคลี่คลายความขัดแย้ง

ในห้วงเวลาที่สังคมตั้งคำถามว่า เราจะ “พูด” อะไรได้บ้างในสังคมที่ขัดแย้งแบ่งขั้วอย่างยืดเยื้อ พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง ‘พื้นที่สื่อสาร’ ที่จำเป็นในสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยยกตัวอย่างผ่านกระบวนการสันติภาพในชายแดนใต้และไอร์แลนด์เหนือ

พรรษาสิริ กุหลาบ

12 Jan 2021

Thai Politics

20 Oct 2020

เสียงที่ไม่อาจปิดกั้น: กฎหมายไม่ใช่ทางออกในการกำกับดูแลสื่อในความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการกำกับดูแลสื่อและสิ่งที่รัฐควรทำในสถานการณ์ความขัดแย้ง สถานการณ์ที่ประชาชนต้องการ “ข้อเท็จจริง” ที่พิสูจน์ได้

พรรษาสิริ กุหลาบ

20 Oct 2020

Trends

9 Oct 2020

เมื่อสื่อต้องรายงานเรื่อง “คนโกหก”: บทเรียนจากการเคลื่อนไหวของเครือข่ายทฤษฎีสมคบคิด QAnon

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่ต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างของแหล่งข่าวในสถานการณ์ที่แหล่งข่าวอาจเป็นผู้ให้ข้อมูลเท็จหรือบิดเบือน ผ่านกรณีการออกมาเคลื่อนไหวปกป้องเด็กจากการค้ามนุษย์ที่นำโดย QAnon

พรรษาสิริ กุหลาบ

9 Oct 2020

Thai Politics

1 Sep 2020

ไม่ใช่เพราะแค่ไม่ชอบ: การคว่ำบาตรสื่อที่ไปไกลกว่าเหตุผลทาง “จริยธรรมวิชาชีพ”

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง กระแสการแบนสื่อและคนในวงการสื่อ ที่จะสะท้อนให้เห็นว่าการเรียกร้องต่อ ‘จริยธรรมวิชาชีพ’ ไม่ได้เป็นการคุ้มครองการละเมิดหรือปกป้องสิทธิของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเชื่อมโยงโดยตรงกับหลักการประชาธิปไตยด้วย

พรรษาสิริ กุหลาบ

1 Sep 2020

World

21 Jul 2020

สร้างอนาคต ‘สื่อ’ อย่างไรในภาวะวิกฤต

สรุปเนื้อหาจากการประชุมออนไลน์ Newsrewired ที่ Sara Fischer ผู้สื่อข่าวด้านสื่อของเว็บไซต์ข่าว Axios เสนอให้จับตาแนวโน้ม 4 ด้านที่มีผลต่อการกำหนดทิศทางของแวดวงวารสารศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในอนาคต

พรรษาสิริ กุหลาบ

21 Jul 2020

Education

10 Feb 2020

‘สื่อเกิดขึ้นมาทำไม’ เมื่อคำถามเก่าๆ คือทางออกของสื่อยุคใหม่ กับ พรรษาสิริ กุหลาบ

#ต้องรอด ตอนแรก ว่าด้วย วารสารศาสตร์กับความท้าทายของสื่อยุคปัจจุบัน และบทบาทของนักวารสารศาสตร์ยุคใหม่ ที่ต้องมีทั้งทักษะ ทัศนคติ และความเข้าใจในบทบาทของคนสื่อ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

10 Feb 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save