จากแผนเปลี่ยนอายุเกษียณจาก 62 เป็น 64 ปี สู่การประท้วงใหญ่ของแรงงานฝรั่งเศสกว่าล้านคน
รัฐบาลฝรั่งเศสหวังแก้กฎหมาย ปรับอายุการเกษียณจาก 62 ปีเป็น 64 ปี นำมาสู่การประท้วงครั้งใหญ่ในฝรั่งเศส ที่มีผู้เข้าร่วมการประท้วงและนัดหยุดงานกว่า 1 ล้านคน

รัฐบาลฝรั่งเศสหวังแก้กฎหมาย ปรับอายุการเกษียณจาก 62 ปีเป็น 64 ปี นำมาสู่การประท้วงครั้งใหญ่ในฝรั่งเศส ที่มีผู้เข้าร่วมการประท้วงและนัดหยุดงานกว่า 1 ล้านคน
วิษณุ วรัญญู ชวนมองข้อถกเถียงเรื่อง ‘อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ’ เมื่อการใช้อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญอย่างถูกต้องตามหลักการเป็นเงื่อนไขปัจจัยประการหนึ่งที่ทำให้รัฐธรรมนูญที่สถาปนาขึ้นมีความชอบธรรมและได้รับการเคารพปฏิบัติตาม
อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงจุดกำเนิดของ ‘ลา มาร์เซยแยส’ และเรื่องราวการต่อสู้ผ่านบทเพลงจนกระทั่งกลายเป็นเพลงชาติฝรั่งเศสในปัจจุบัน
ในวันที่ห้องสมุดสาธารณะกำลังกลายเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญในการพัฒนา ‘เมืองกรุงเทพฯ’ ให้กลายเป็น ‘มหานครแห่งการเรียนรู้’ 101 ชวนมองความเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองแบบ ‘เทศมองไทย’ จากฝรั่งเศสและเยอรมนี สนทนากับห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและห้องสมุดมัลติมีเดียสมาคมฝรั่งเศส ว่าด้วยการออกแบบห้องสมุดสาธารณะกลายเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ในเมืองได้อย่างแท้จริง
เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
การทำแท้งถูกกฎหมายกลายเป็นหนึ่งในประเด็นที่หลายประเทศกำลังผลักดัน และเห็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงกฎหมายที่น่าจับตาหลายแห่ง เช่น โคลอมเบียที่ประกาศให้ยุติการตั้งครรภ์ได้ หรือฝรั่งเศสที่ขยับเพดานกฎหมายไปไกลกว่าที่เคย
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงคำวินิจฉัยของตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสในช่วงโควิดว่า การดำเนินคดีอาญามีเรื่องใดที่ผ่อนปรนได้ในสถานการณ์โรคระบาด และเรื่องใดที่ผ่อนปรนไม่ได้แม้ในสถานการณ์โรคระบาด
‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Josep ภาพยนตร์ฝรั่งเศสที่หยิบงานอนิเมชันมาเล่าเรื่องราวชีวิตสุดดาร์กของนักวาดภาพชาวสเปน José Bartoli ในช่วงที่ลี้ภัยมายังฝรั่งเศส เพื่อหลบหนีจากอำนาจเผด็จการฟาสซิสต์ของนายพลฟรันซิสโก
ณัชชาภัทร อมรกุล ชวนเช็คประสิทธิภาพของผู้นำอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และเยอรมนีในการรับมือกับวิกฤต COVID-19
วจนา วรรลยางกูร บันทึกบรรยากาศของปารีสก่อนจะถูกล็อกดาวน์เพราะโคโรนาไวรัส เสียงชนแก้วครั้งสุดท้ายถูกแทนที่ด้วยความเงียบที่เข้ามาคุกคามทั้งโลกจนเมืองร้างไร้ผู้คน
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ธนสักก์ เจนมานะ ถึงการศึกษาเรื่องความเหลื่อมล้ำไทยและชีวิตนักวิจัยในฝรั่งเศสที่ World Inequality Lab
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ สุภาพิมพ์ ธนะพรพันธุ์ คอลัมนิสต์ด้านแฟชั่นและวัฒนธรรมฝรั่งเศส ถึงปารีสวันที่เผชิญหลากปัญหา แต่ยังคงมากเสน่ห์ด้วยผู้คน พื้นที่สาธารณะและศิลปะ
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ อั้ม เนโกะ ผู้ลี้ภัยการเมืองไทยและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิ LGBT ในฝรั่งเศส ถึงชีวิตใหม่หลังเดินทางออกจากประเทศไทย และการทำงานเพื่อผู้อพยพที่มีความหลากหลายทางเพศ
วจนา วรรลยางกูร ลัดเลาะในปารีสช่วงฤดูร้อน ผ่านสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์ Before Sunset หนึ่งในภาพยนตร์ไตรภาคของ ริชาร์ด ลิงค์เลเตอร์ ที่หลายคนหลงรัก โดยมีบทสนทนาของเจสซี่และเซลีนบรรเลงคลอ
จาก ‘บุพเพสันนิวาส’ ถึง ‘การเมืองในสมัยพระนารายณ์’ พลอย ธรรมาภิรานนท์ วิเคราะห์ให้เห็นธรรมชาติและอนิจลักษณะของการเมืองไทย
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า