ขอแสดงความไม่ยินดีกับผู้พิพากษาใหม่
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงสถาบันการเรียนการสอนนิติศาสตร์ของไทย ที่มักแสดงความยินดีกับผู้สอบผู้พิพากษาผ่าน ทั้งที่อาจไม่ใช่สิ่งน่ายินดี หากผู้สอบผ่านผู้นั้นเข้าไปทำงานรับใช้รัฐ มากกว่าทำเพื่อประชาชน


สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงสถาบันการเรียนการสอนนิติศาสตร์ของไทย ที่มักแสดงความยินดีกับผู้สอบผู้พิพากษาผ่าน ทั้งที่อาจไม่ใช่สิ่งน่ายินดี หากผู้สอบผ่านผู้นั้นเข้าไปทำงานรับใช้รัฐ มากกว่าทำเพื่อประชาชน
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงโจทย์ท้าทายของวงการนิติศาสตร์เรื่องการศึกษาตัวผู้พิพากษาในฐานะบุคคล เพื่อออกแบบระบบอำนวยความยุติธรรมที่ดีขึ้น
101 ชวนอ่านความเห็นของ ธงทอง จันทรางศุ ต่อเรื่องบทบาทตุลาการกับการธำรงรักษาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ยั่งยืน และการทำงานในพระปรมาภิไธยนั้นควรมีหลักการอย่างไร
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองอุดมการณ์ของผู้พิพากษาผ่านเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อันเป็นภาพแทนความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายตุลาการและพระมหากษัตริย์
101 คุยกับ วิบูลย์ บุญภัทรรักษา หรือ ทนายอู๊ด พ่อของไผ่ ดาวดิน เกี่ยวกับมุมมองที่เขามีต่อศาลเรื่องคดีการเมือง มาตรา 112 และปัญหาที่แท้จริงของศาลไทย
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงความเป็นอิสระของตุลาการที่มี ‘วินัย’ ควบคุมอยู่ จนทำให้เกิดการเพิกเฉยต่อปัญหาในกระบวนการยุติธรรม
ฉัตร คำแสง ตั้งคำถามว่า จะดีกว่าหรือไม่หากเราจะใช้ AI ตัดสินคดีแทนผู้พิพากษา ในเมื่อมีผลการศึกษายืนยันว่า AI ตัดสินคดีได้เป็นธรรมกว่า
จากการอ่านหนังสือ ‘ผู้พิพากษาที่ดี’ สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดต่อถึง ‘ผู้พิพากษาอันไม่พึงประสงค์’ อันเป็นปัญหาที่สัมพันธ์ในระดับโครงสร้างหรือวัฒนธรรมในฝ่ายตุลาการ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงประมวลจริยธรรมตุลาการ ในกรณีการเข้าร่วมชุมนุมทางการเมือง
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง หลักผู้พิพากษาต้องสัมผัสพยาน ซึ่งถูกรับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน แต่เป็นสิ่งที่หายไปจากกระบวนการยุติธรรมไทย
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามด้านกลับของข้ออ้าง “ความเป็นอิสระของศาล” ที่ต้องการปลอดการเมือง ปราศจากการแทรกแซงจากบุคคลภายนอก ว่าตุลาการจะยึดโยงกับประชาชนได้อย่างไร ภายใต้อุดมการณ์แบบเสรีประชาธิปไตย
ในบรรยากาศวันแห่งความรัก สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจความหมายของ ‘ความรัก’ ในคำพิพากษา เพศวิถีในแวดวงตุลาการดำเนินไปในทิศทางเดียวกับโลกที่กำลังหมุนไป หรือยิ่งห่างไกลมากขึ้นเรื่อยๆ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ระบบสอบเข้าดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา จากความบากบั่นในการ “ลอดรูเข็ม” ถึงการพรางตัวของชนชั้นนำตุลาการ สามัญชนมีโอกาสนั่งบัลลังก์ศาลมากน้อยเพียงใด การสอบเป็นการแข่งขันกันด้วยความสามารถล้วนๆ จริงหรือไม่ และกระบวนการสอบมีความหมายทางการเมืองเช่นใด
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า