How to Train Your Supporters: ไวกิ้งปริศนาแห่งรัฐสภาสหรัฐฯ
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงเบื้องหลัง ‘สัญลักษณ์’ บนร่างกายของกลุ่มผู้บุกรุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ ที่สนับสนุนโดนัล ทรัมป์ และประวัติศาสตร์สืบสายมาอย่างไร จนนำมาสู่แนวคิด ‘คนขาวเป็นใหญ่’


ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงเบื้องหลัง ‘สัญลักษณ์’ บนร่างกายของกลุ่มผู้บุกรุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ ที่สนับสนุนโดนัล ทรัมป์ และประวัติศาสตร์สืบสายมาอย่างไร จนนำมาสู่แนวคิด ‘คนขาวเป็นใหญ่’
ชลิดา หนูหล้า ชวนตั้งคำถามว่า ความป่าเถื่อนและสภาพแวดล้อมอันบีบคั้นรุนแรง จะสร้าง ‘ชายชาติทหาร’ ได้จริงหรือ
อ่านสถานการณ์การเมืองไทยกับ ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดัน ‘งานวิชาการนอกขนบ’ มาเกือบ 2 ทศวรรษ จนถึงตอนนี้ที่ ‘ฟ้าเดียวกัน’ กลายเป็นสำนักพิมพ์ร้อนแรงแห่งยุค
อ่านสถานการณ์การเมืองไทยกับ ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดัน ‘งานวิชาการนอกขนบ’ มาเกือบ 2 ทศวรรษ จนถึงตอนนี้ที่ ‘ฟ้าเดียวกัน’ กลายเป็นสำนักพิมพ์ร้อนแรงแห่งยุค
สนทนากับครูภาคิน นิมมานนรวงศ์ ว่าด้วยการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่การจำไปสอบ ความสำคัญของการตั้งคำถาม ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนอยากรู้แต่ครูไม่อยากสอน ไปจนถึงห้องเรียนและหลักสูตรในฝันที่ไม่กักขังทั้งครูและนักเรียน
เปิดโผ Top Highlights ทั้งสิ้น 26 เล่ม โดยเล่มที่ได้รับคะแนนสูงสุด ได้ 6 คะแนน คือ ตาสว่าง โดย Claudio Sopranzetti, Sara Fabbri และ Chiara Natalucci (นันธวรรณ์ ชาญประเสริฐ แปล/ Sara Fabbri ภาพประกอบ) ส่วนเล่มอื่นๆ จะเป็นเล่มใด และถูกเลือกโดยใครบ้าง ตามไปดูกันเลย!
รายชื่อหนังสือ Finalists ชุดที่ 3 จากบรรณาธิการ นักวาดภาพประกอบ และเจ้าของร้านหนังสือ 19 คนที่เลือกหยิบหนังสือที่คิดว่าน่าอ่าน น่าละเลียด พร้อมเหตุผลว่าทำไมเราจึง ‘น่าจะอ่าน’ หนังสือเล่มนี้
รายชื่อหนังสือ Finalists ชุดที่ 2 จากบรรณาธิการ นักวาดภาพประกอบ และเจ้าของร้านหนังสือ 19 คนที่เลือกหยิบหนังสือที่คิดว่าน่าอ่าน น่าละเลียด พร้อมเหตุผลว่าทำไมเราจึง ‘น่าจะอ่าน’ หนังสือเล่มนี้
รายชื่อหนังสือ Finalists ชุดที่ 1 จากบรรณาธิการ นักวาดภาพประกอบ และเจ้าของร้านหนังสือ 19 คนที่เลือกหยิบหนังสือที่คิดว่าน่าอ่าน น่าละเลียด พร้อมเหตุผลว่าทำไมเราจึง ‘น่าจะอ่าน’ หนังสือเล่มนี้
ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงกรณีการปลดชื่อประธานาธิบดี ‘วูดโรว์ วิลสัน’ ออกจาก ‘Woodrow Wilson School of Public and International Affairs’ เพื่อตั้งคำถามว่า เราควรกลับไปแก้ ‘ประวัติศาสตร์สีดำ’ ให้ถูกต้องกับคุณค่าปัจจุบัน หรือ เปิดรับสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้นไว้เป็นความทรงจำร่วมกันของสังคม
ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงการศึกษาโบราณคดีในสมัยก่อนที่มักจะเน้นคุณค่าความงามทางศิลปกรรม ส่งเสริมแนวความคิดชาตินิยมเพื่อสร้างอัตลักษณ์ของชาติ และไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์สามัญธรรมดา
ชวนอ่านความคิดและคำถามของ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ว่าด้วยการเขียนประวัติศาสตร์การเมืองของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 อีกแบบหนึ่ง – แบบ irony
ชวนอ่านบทปาฐกถา “ประวัติศาสตร์สอนอะไร: ข้อคิดจากประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกาและไทย” โดย ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ในวาระ 72 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
ในวาระ 72 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านบทความ ‘วิเคราะห์การศึกษารัฐศาสตร์ในเมืองไทย’ ของธเนศสมัยเป็นนักศึกษา ซึ่งช่วยให้เรามองเห็นแนวทางสร้างความรู้ทางวิชาการตลอด 50 ปีของศาสตราจารย์ประวัติศาสตร์ผู้นี้
‘#ThreesomePodcast‘ EP.44 ว่าด้วยเรื่อง ‘กรุงเทพฯ ที่หายไป’
ลองมาทบทวนกันหน่อยว่า สถานที่ต่างๆ มีความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์-วัฒนธรรม อย่างไร และดำเนินมาถึงวาระสุดท้ายด้วยปัจจัยอะไรบ้าง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า