fbpx

Life & Culture

23 Nov 2023

‘ปฤษฎางค์ กระดูกสันหลังแขวนคอ’ กับสเตรตแจ็กเก็ตที่พันธนาการองคาพยพทางสังคม

ภูมิชาย คชมิตร เล่าเรื่องราวของเจ้าชายปฤษฎางค์ ผู้มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 5 ผ่านหนังสือเรื่อง ‘ปฤษฎางค์ กระดูกสันหลังแขวนคอ: ชีวิตและการลี้ภัยในยุคสมบูรณาญาสิทธิ์ของพระองค์เจ้าปฤษฎางค์’

ภูมิชาย คชมิตร

23 Nov 2023

ความน่าจะอ่าน

19 Oct 2023

ความน่าจะอ่าน 2023 – คำขอบคุณจาก ‘เมาริตซิโอ เปเลจจี’ ผู้เขียน เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง

เนื่องในโอกาสที่ ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง’ ของสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ได้รับการโหวตว่าเป็นหนังสือน่าอ่านด้วยคะแนนสูงสุดจากกิจกรรม ‘ความน่าจะอ่าน 2023 – อ่าน 7 ที ดี 7 หน’ เมาริตซิโอ เปเลจจี ผู้เขียนหนังสือจึงขอส่งคำขอบคุณจากอิตาลี ถึงผู้อ่านชาวไทยทุกคน

กองบรรณาธิการ

19 Oct 2023

Life & Culture

25 Sep 2023

เปิดม่าน ‘แมนสรวง’: คุยกับ ‘นักรบ มูลมานัส’ ว่าด้วยศิลปะและการตีความประวัติศาสตร์

101 สนทนากับ ‘นักรบ มูลมานัส’ ผู้รับหน้าที่เป็น creative art director และ assistant to executive producer ประจำภาพยนตร์ ถึงการตีความประวัติศาสตร์และงานศิลป์ของไทย ผ่านม่านแมนสรวง

เจียระไน ซองทอง

25 Sep 2023

Life & Culture

19 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] บันทึกความทรงจำต่อ ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง: การก่อร่างภาพลักษณ์สมัยใหม่ของสถาบันกษัตริย์สยาม’

อรรถ บุนนาค เขียนบันทึกความทรงจำถึงหนังสือเรื่อง ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง’ ที่ได้รับเลือกสูงสุดใน ‘ความน่าจะอ่าน 2023’ ย้อนถึงสมัยเป็นนักศึกษาที่ญี่ปุ่น ที่อาจารย์ใช้วิทยานิพนธ์เล่มนี้ในการสอนประวัติศาสตร์ไทย

อรรถ บุนนาค

19 Sep 2023

Life & Culture

14 Sep 2023

แล่ประวัติศาสตร์จากซี่โครงวัว: ขุดปริศนาการเดินทางของวัวโบราณ 800 ปี

101 ชวนสำรวจการขุดค้นโครงกระดูกวัวโบราณ 800 ปีที่ลพบุรี เพื่อสืบหาสายพันธุ์วัวจากการตรวจดีเอ็นเอ เปิดวิธีทำงานด้านโบราณคดีเพื่อทำความเข้าใจอดีตของมนุษย์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Sep 2023

Human & Society

21 Jun 2023

ประวัติศาสตร์สร้างตัวตน ประชาชนจึงต้องสร้างประวัติศาสตร์: คุยกับพริษฐ์ ชิวารักษ์

101 ชวน เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ สนทนาถึงบทบาทของนักประวัติศาสตร์ และความสำคัญในการเขียนประวัติศาสตร์ชาติด้วยประวัติศาสตร์ประชาชน

จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำ

21 Jun 2023

ความน่าจะอ่าน

24 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] เล่นแร่แปลภาพ กับการมองประวัติศาสตร์สยามมุมใหม่

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — อรรถ บุนนาค เขียนถึง ‘เล่นแร่แปลภาพ ประวัติศาสตร์สยามจากเบื้องหลังภาพถ่าย’ ของนักรบ มูลมานัส

อรรถ บุนนาค

24 Sep 2022

Life & Culture

5 Sep 2022

เมียรักของ ‘ธานี’ : หม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนรู้จัก ‘เมียรัก’ เพียงหนึ่งเดียวของ ‘ธานี’ – หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล ผู้มีนามว่าหม่อมประยูร

กษิดิศ อนันทนาธร

5 Sep 2022

Life & Culture

12 Aug 2022

ข้อคิดจากสมเด็จฯ : 90 พรรษา สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติและพระจริยวัตรของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เนื่องในโอกาสมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา

กษิดิศ อนันทนาธร

12 Aug 2022

Politics

18 Jan 2022

‘Precarious Thailand’ มองอนาคตสังคมไทยจากประวัติศาสตร์กดขี่ กับ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์

101 ชวน อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาทำความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมเพื่อร่วมออกแบบอนาคตสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

18 Jan 2022

Life & Culture

1 Sep 2021

“แม้แต่ตัวท่านหญิงก็ลำบาก” : ทุกข์ทางเศรษฐกิจของหม่อมเจ้าออน

ถึงเป็น ‘เจ้า’ แต่ก็ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจได้ กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงชีวิตของหม่อมเจ้าออนที่ไม่ร่ำรวย และหนีออกจากวังไปเป็นทาส

กษิดิศ อนันทนาธร

1 Sep 2021

World

6 Aug 2021

จากสยาม 1902 ถึงสหรัฐฯ 1619 : การเดินทางของความทรงจำของคนเล็กๆ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนอ่านประวัติศาสตร์ ‘กบฏเงี้ยว’ ซึ่งถูกเขียนให้เป็นศัตรูในประวัติศาสตร์ชาติกระแสหลัก อันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับคนผิวดำในอเมริกาเช่นกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

6 Aug 2021

Life & Culture

21 May 2021

อ่าน (หนัง) บางระจันใหม่ ในฐานะแฟนตาซีของวันสิ้นชาติ และอุดมการณ์ชาตินิยมที่ไม่มีราชาในนั้น

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนอ่านหนังบางระจันใหม่ในวาระครบรอบ 21 ปี บางระจันทำหน้าที่อะไรในสังคมไทยทั้งก่อนหน้านี้และในปัจจุบัน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

21 May 2021

Politics

30 Mar 2021

อ่านหนังสือเรียนสมัยคณะราษฎร (พ.ศ. 2475 – 2500) : สิ่งที่คณะราษฎรอยากบอกประชาชน

โกษม โกยทอง เขียนถึงแบบเรียนสมัยคณะราษฎร ช่วงปี 2475-2500 ที่สะท้อนรูปแบบการปกครองใหม่และค่านิยมใหม่ในสังคมช่วงนั้น

โกษม โกยทอง

30 Mar 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save