‘Precarious Thailand’ มองอนาคตสังคมไทยจากประวัติศาสตร์กดขี่ กับ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
101 ชวน อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาทำความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมเพื่อร่วมออกแบบอนาคตสังคมไทย


101 ชวน อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาทำความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมเพื่อร่วมออกแบบอนาคตสังคมไทย
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงการสร้าง ‘ตำนาน’ พระนเรศวร กษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องอย่างสูงของสยาม
ถึงเป็น ‘เจ้า’ แต่ก็ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจได้ กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงชีวิตของหม่อมเจ้าออนที่ไม่ร่ำรวย และหนีออกจากวังไปเป็นทาส
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนอ่านประวัติศาสตร์ ‘กบฏเงี้ยว’ ซึ่งถูกเขียนให้เป็นศัตรูในประวัติศาสตร์ชาติกระแสหลัก อันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับคนผิวดำในอเมริกาเช่นกัน
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนอ่านหนังบางระจันใหม่ในวาระครบรอบ 21 ปี บางระจันทำหน้าที่อะไรในสังคมไทยทั้งก่อนหน้านี้และในปัจจุบัน
โกษม โกยทอง เขียนถึงแบบเรียนสมัยคณะราษฎร ช่วงปี 2475-2500 ที่สะท้อนรูปแบบการปกครองใหม่และค่านิยมใหม่ในสังคมช่วงนั้น
แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงหนังสือ ประวัติศาสตร์อยุธยา ห้าศตวรรษสู่โลกใหม่ โดยคริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร ซึ่งเปิดเผยให้ประวัติศาสตร์มุมใหม่ แบบที่ไม่มีแนวคิดชาตินิยมมาข้องเกี่ยว
เมื่อรัชกาลที่ 5 ต้องเสด็จประพาสยุโรป เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาอารยประเทศครั้งแรก พ.ศ.2440 ใครคือ ‘เมีย’ ที่พระพุทธเจ้าหลวง ‘คิดถึง’ มากยิ่งกว่า ‘พระราชินี’ กษิดิศ อนันทนาธร มีคำตอบ
คำราชาศัพท์ของ ‘รก’ เรียกว่าอะไร? กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเรื่องราวการตามหาคำตอบของคำถามที่ดูเหมือนง่าย แต่น้อยคนนักที่จะรู้จริง
ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เล่าพัฒนาการของการศึกษาโบราณคดีไทย ในยุคก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ที่โบราณคดียังคง ‘ไร้ลิ้น’ ไร้เรื่องราวของคนธรรมดา และเป็นการศึกษาอดีตเพื่อสะท้อนโลกทัศน์และอุดมคติของสังคมในปัจจุบัน
กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงเรื่องราวการขึ้นครองราชสมบัติของกษัตริย์ราชสกุล “มหิดล” ซึ่งมีบทบาทในฐานะผู้สืบราชสันตติวงศ์ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร 2475
สนิทสุดา เอกชัย วิพากษ์มรดกลัทธิชาตินิยม เขียนถึงเส้นทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่เกิดจากการรวมกันของหลายเชื้อชาติ ไม่ได้มีแต่ ‘เชื้อชาติไทย’ เท่านั้น อ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ ศรีศักร วัลลิโภดม
ชวนอ่านบทปาฐกถา “ประวัติศาสตร์สอนอะไร: ข้อคิดจากประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกาและไทย” โดย ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ในวาระ 72 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
101 ชวนคุณหมอนักประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ด้วยตัวเอง มานั่งคุยแบบ ‘ประวัติศาสตร์วิเคราะห์’ ที่ไม่ได้จำแค่ พ.ศ. เท่านั้น แต่ว่าด้วยความตาย และการชำระ-ชำแหละประวัติศาสตร์ด้วยวิทยาศาสตร์
:: LIVE :: ‘เขาวงกตแห่งเรื่องเล่า’ ของ วีรพร นิติประภา ว่าด้วยการประกอบสร้างเรื่องเล่าในนวนิยายของวีรพร และการประกอบสร้างเรื่องเล่าในประวัติศาสตร์แบบไทยๆ จากไส้เดือนตาบอดฯ ถึงพุทธศักราชอัสดงฯ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า