fbpx

Thai Politics

18 May 2018

4 ปี คสช. : การจัดดุลอำนาจใหม่ภายใต้ระบอบอำนาจนิยมที่อ่อนแอ

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ “4 ปี คสช.” ว่าด้วยปมเงื่อนการเมืองไทย แผนที่ดุลอำนาจใหม่ และเส้นทางยาวไกลของการเมืองภาคพลเมือง

สมคิด พุทธศรี

18 May 2018

Spotlights

7 May 2018

‘computational propaganda’ ภัยคุกคามใหม่ของประชาธิปไตย

สมคิด พุทธศรี จับตาความเสี่ยงของบัญชีทวิตเตอร์ปลอมที่กำลังระบาด และตั้งคำถามต่อ ‘ศาสตร์มืด’ ของการสื่อสารทางการเมืองที่ทำให้โลกออนไลน์เต็มไปด้วยข้อมูลคุณภาพต่ำ

สมคิด พุทธศรี

7 May 2018

Interviews

17 Apr 2018

จากทหารถึงทหาร คำเตือนจาก พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร “ยิ่งลงช้าเท่าไหร่ ยิ่งมีวิบากกรรมมากเท่านั้น”

พลโท ภราดร พัฒนถาบุตร อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) คุยกับ ธิติ มีแต้ม เรื่องทหารกับการเมืองไทย ความมั่นคง และความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ธิติ มีแต้ม

17 Apr 2018

Interviews

10 Apr 2018

อนาคตสังคมไทยยามไร้ คสช. : พล.ต.ปิยพงศ์ กลิ่นพันธุ์ โฆษก คสช.

ธิติ มีแต้ม สนทนากับ พล.ต.ปิยพงศ์ กลิ่นพันธุ์ โฆษก คสช. ถึงการทำงานตลอด 4 ปีที่ผ่านมา และอนาคตสังคมไทยยามไร้ คสช.

ธิติ มีแต้ม

10 Apr 2018

Thai Politics

2 Apr 2018

รัฐประหารครั้งแรก 1 เมษายน 2476 เผด็จการยุคแรกแบบ ‘Monocracy’

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ เขียนถึง ‘มโนเครซี่’ รัฐประหารครั้งแรก 1 เมษายน 2476 และมรดกที่ถูกทิ้งไว้ให้กับคนรุ่นหลัง

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

2 Apr 2018

World

30 Mar 2018

EU Disintegration : เมื่อ(สหภาพ)ยุโรปแตกแยก

อะไรคือปัญหาของสหภาพยุโรปในโลกเสรีนิยมใหม่ ทำไมคำอธิบายใหม่ๆ จึงจำเป็นในการเมืองโลกปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘ที่มา’ ของความแตกแยกในยุโรป และฉายภาพ ‘ที่ไป’ ของสหภาพยุโรปในอนาคต

จิตติภัทร พูนขำ

30 Mar 2018

Life & Culture

26 Mar 2018

เยือนสุสานเติ้งลี่จวิน ฟังความสัมพันธ์สองแผ่นดินจีน

ธีรภัทร เจริญสุข เยือนสุสานของศิลปินอมตะ ‘เติ้งลี่จวิน’ พร้อมพาเราย้อนไปสำรวจชีวิต ผลงาน และจุดยืนทางการเมืองของเธอ ในช่วงเวลาที่ความตึงเครียดบริเวณช่องแคบไต้หวันปะทุขึ้นมาอีกครั้ง

ธีรภัทร เจริญสุข

26 Mar 2018

Politics

14 Mar 2018

ซากเดนของเผด็จการ

แม้ผู้นำเผด็จการจะจากไป แต่ซากเดนของระบอบเผด็จการยังคงอยู่ สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจกรณีตัวอย่างของภาระและปัญหานานัปการที่ระบอบเผด็จการทิ้งไว้ให้สังคมต้องแบกรับกันต่อไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Mar 2018

Social Issues

12 Mar 2018

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน : ความเข้าใจผิดและความคาดหวังของ ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตีแผ่เบื้องหน้าและเบื้องหลังของดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน (Corruption Perception Index – CPI) ปีล่าสุด และตั้งคำถามถึงองค์กรหลักที่ทำหน้าที่ต่อต้านคอร์รัปชันอย่าง ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ

12 Mar 2018

มองอเมริกา

9 Mar 2018

ทรัมป์กับรัฐธรรมนูญ ใครใหญ่กว่ากัน?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ปัญหาประชาธิปไตยในสหรัฐอเมริกา “โดนัลด์ ทรัมป์” กับ “รัฐธรรมนูญ” ใครใหญ่กว่ากัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

9 Mar 2018

Interviews

7 Mar 2018

คำต่อคำ : “การเมืองแห่งอนาคต” ของธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ

เปิดตัวตน ความคิด และวิถีการเมืองของ “ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ” พร้อมตอบทุกคำถามเกี่ยวกับ “การเมืองแห่งอนาคต” และพรรคทางเลือกใหม่ที่กำลังจะเปิดตัว

กองบรรณาธิการ

7 Mar 2018

มองอเมริกา

2 Mar 2018

ปัญหาประชาธิปไตยในอเมริกา

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในปี 2016 เปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของ “ประชาธิปไตยในอเมริกา” อย่างมหาศาลเกินจินตนาการ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนวิเคราะห์การเมืองอเมริกันภายใต้โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีแบบที่สหรัฐไม่เคยพบเจอมาก่อน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Mar 2018

Interviews

7 Feb 2018

พลังป้าแห่ง MBK 39 รู้จักแล้วจะรักป้ามากขึ้น

ชลธร วงศ์รัศมี เปิดใจกลุ่ม “ป้า” ที่เพิ่งเข้าสังกัด “MBK 39” หลังจากเข้าร่วมแสดงจุดยืนเรียกร้องการเลือกตั้งที่หน้าห้างมาบุญครองเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 และตำรวจได้ ‘ออดิชั่น’ ผู้ชุมนุม 39 คนจากภาพถ่าย เพื่อมารับข้อหาผิด พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558

หาก “MBK 39” คือ วงไอดอล แน่นอนว่า ป้าคือ ‘เซ็นเตอร์’ ของวง ที่ถูกบังคับให้ไปงาน “ปั๊มลายนิ้วมือ”

ชลธร วงศ์รัศมี

7 Feb 2018
1 10 11 12 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save