จากพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ถึงกมลา แฮร์ริส: ชีวิตที่ ‘เลือก’ ไม่ได้
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองเปรียบเทียบการเลือกตั้งไทยและสหรัฐฯ เมื่อการลงแข่งขันของพิธา ลิ้มเจริญรัตน์และกมลา แฮร์ริสเป็นการท้าทายจารีตและประเพณีเดิม
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองเปรียบเทียบการเลือกตั้งไทยและสหรัฐฯ เมื่อการลงแข่งขันของพิธา ลิ้มเจริญรัตน์และกมลา แฮร์ริสเป็นการท้าทายจารีตและประเพณีเดิม
เราคุ้นเคยกับอายุเลือกตั้งที่ 18 ปีบริบูรณ์กันมาเกือบสามสิบปี แต่หลายประเทศในโลกเริ่มขยับอายุเลือกตั้งลงเพื่อขยายช่องทางการมีส่วนของเยาวชน เสริมสร้างความเสมอภาค-เป็นธรรมในระบบประชาธิปไตย ถ้าอย่างนั้นไทยควรลดอายุเลือกตั้งบ้างไหม? ควรลดเหลือเท่าไหร่? เยาวชนและสังคมจะได้อะไร? ชวนพูดคุยกันในรายการ Policy What!
101 In Focus ชวนทำความเข้าใจผลงานของนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 2024 และชวนสำรวจข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นในแวดวงวิชาการ
ประชาธิปไตยสำคัญอย่างไรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ? อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนสำรวจความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันทางการเมืองกับสถาบันทางเศรษฐกิจ ผ่านผลงานของสามนักเศรษฐศาสตร์ผู้คว้ารางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ประจำปี 2024 ดารอน อาเซโมกลู, ไซมอน จอห์นสัน และ เจมส์ เอ. โรบินสัน
ประทีป คงสิบ ชวนมองยุทธศาสตร์การขยับของพรรคประชาชน หลังผ่านการถูกยุบพรรคก้าวไกลมา โดยเฉพาะการเคลื่อนไหวของผู้นำพรรคสามรุ่น
101 คุยกับ จอน อึ๊งภากรณ์ ถึงเส้นทางชีวิตกว่าสี่ทศวรรษในภาคประชาสังคมของเขาและชวนมองถึงเป้าหมายการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยของสังคมไทย
อิทธิพลทางความคิดของ ‘คนเดือนตุลา’ ที่ส่งผ่านมาสู่ ‘คนรุ่นใหม่’ มีแนวโน้มที่จะไม่ทรงพลังเหมือนเดิมอีกต่อไป อะไรคือจุดเปลี่ยนที่ทำให้เป็นเช่นนั้น
101 PUB ชวนสำรวจความสำคัญและความข้องเกี่ยวของรัฐธรรมนูญกับประชาชนอย่างเราๆ ค้นหาคำตอบว่า การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อาจเอื้อให้ชีวิตเราดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง?
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ผลต่อเนื่องจากคำตัดสินศาลสูงสุดสหรัฐฯ ที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งและการรักษาประชาธิปไตยท่ามกลางความขัดแย้งแตกแยกอย่างหนัก
‘ปากท้อง’ กับ ‘ประชาธิปไตย’ คนไทยต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งจริงหรือ? นโยบายด้านเศรษฐกิจกับอุดมการณ์ทางการเมืองไปด้วยกันเลยได้ไหม การปฏิรูปการเมือง/ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ เกี่ยวอะไรกับปากท้องและความเป็นอยู่ของเรา
101 In Focus คุยเรื่องการยุบพรรคการเมืองในฐานะกลไกของระบอบประชาธิปไตยและการกลายพันธุ์ของการปรับใช้ในบริบทประเทศไทย
เป็นเรื่องบังเอิญที่โดนัลด์ ทรัมป์กับทักษิณ ชินวัตร มีชะตากรรมเกี่ยวข้องกับคดีอาญาที่อาจมีโทษถึงจำคุกที่คล้ายกัน แต่ที่สุดแล้วรากฐานระบบการเมืองของสองประเทศก็แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ในวาระครบรอบ 10 ปีรัฐประหาร ชวนสำรวจภาพใหญ่ของการยึดอำนาจที่ส่งผลต่อโครงสร้างทางการเมืองการปกครองทั้งองคาพยพ
ในวาระครบรอบ 10 ปี รัฐประหารปี 2557 — 101 ชวนร่วมสำรวจปฐมบทของการยึดอำนาจ ความปรารถนาของชนชั้นนำ และความสูญเสียของผู้คน ทั้งเวลา โอกาส รวมทั้งชีวิตตลอดทศวรรษ ไปจนถึงความหวังในการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของสังคมไทย
101 PUB ชวนสำรวจประชามติในต่างประเทศ ซึ่งเคย ‘พัง’ มาก่อน ถอดบทเรียนกลับมาปรับใช้กับ ‘ประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่’ ของไทยไม่ให้พังตามกันไป
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า