fbpx

Politics

25 Oct 2022

การหลุดลอยของวงเล็บ ‘(รีปับลิก)’ ท้ายคำว่า ‘ประชาธิปตัย’ หลังการปฏิวัติ 2475

ว่าด้วยความหมายของคำว่า ‘รีปับลิก’ ตั้งแต่ก่อนและหลัง 2475 เมื่อประเทศไทยเคยมี ‘ประชาธิปตัย (รีปับลิก)’ แล้วตอนนี้หายไปไหน หายอย่างไร

อิทธิเดช พระเพ็ชร

25 Oct 2022

Spotlights

28 Oct 2020

เมื่อถนนสร้าง ‘ประชาชน’

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงพื้นที่ท้องถนน ที่สะท้อนการมีส่วนร่วมของผู้คนในสังคมประชาธิปไตย ถนนสำคัญต่อการเรียกร้องทางการเมืองอย่างไร และเพิ่มพลังให้คนได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

28 Oct 2020

Talk Programmes

27 Oct 2020

101 Policy Forum #7 : ประเทศไทยในฝันของคนรุ่นใหม่

วัยรุ่นแต่ละคนวาดฝันต่อประเทศไทยและมีคำตอบรูปธรรมในประเด็นเหล่านี้อย่างไร : สังคม การเมือง เศรษฐกิจไทยในฝัน | ต้นตอที่รั้งประเทศไทยจากการพัฒนา | ข้อเสนอเพื่อพาประเทศสู่อนาคต | แนวทางการพัฒนาและสนับสนุนคนรุ่นใหม่ | ฯลฯ

กองบรรณาธิการ

27 Oct 2020

Democracy

27 Oct 2020

“ให้เธอเรียกฉันว่าสายลมที่หวังดี” คุยชีวิตและการเมืองกับ ทราย เจริญปุระ

101 ชวนทราย เจริญปุระ มาคุยว่าด้วยชีวิต ความคิด และการเมือง เธอคิดอะไร เธอเจออะไร และมองเหตุการณ์ทางการเมืองตอนนี้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

27 Oct 2020

Thai Politics

27 Oct 2020

‘เกษียร เตชะพีระ’ มองการเมืองไทยยุคหลังฉันทมติภูมิพล

101 คุยกับ เกษียร เตชะพีระ เพื่อทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในยุคหลังฉันทมติภูมิพล และความสุ่มเสี่ยงด้านต่างๆ ที่สังคมกำลังเผชิญ

วจนา วรรลยางกูร

27 Oct 2020

Talk Programmes

23 Oct 2020

101 One-On-One Ep.190 : “ให้เธอเรียกฉันว่าสายลมที่หวังดี” คุยชีวิตและการเมืองกับ ทราย เจริญปุระ

101 ชวนทราย เจริญปุระ มาคุยว่าด้วยชีวิต ความคิด และการเมือง เธอคิดอะไร เธอเจออะไร และมองเหตุการณ์ทางการเมืองตอนนี้อย่างไร

101 One-on-One

23 Oct 2020

Social Movement

21 Oct 2020

“ศิลปินกับศิลปะคือกระจกสะท้อนภาพของสังคม” – มือบอน

สาธิตา เจษฎาภัทรกุล คุยกับ ‘มือบอน’ ศิลปินสตรีทอาร์ตไทยที่ดังไกลระดับโลกถึงเบื้องหลังชีวิตบนเส้นทางศิลปะ สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ การศึกษา ไปจนถึงปัญหาเสรีภาพการแสดงออกทางการเมืองเมื่อเขาก้าวออกมาสนับสนุนประชาธิปไตยผ่านผลงาน

กองบรรณาธิการ

21 Oct 2020

Thai Politics

20 Oct 2020

เสียงที่ไม่อาจปิดกั้น: กฎหมายไม่ใช่ทางออกในการกำกับดูแลสื่อในความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการกำกับดูแลสื่อและสิ่งที่รัฐควรทำในสถานการณ์ความขัดแย้ง สถานการณ์ที่ประชาชนต้องการ “ข้อเท็จจริง” ที่พิสูจน์ได้

พรรษาสิริ กุหลาบ

20 Oct 2020

Democracy

24 Jun 2020

The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นพื้นที่เรียกร้องความเป็นธรรมของประชาชนจากทั่วทุกหย่อมหญ้า และเป็นวงเวียนที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเคยสัญจรผ่าน ความเป็นประชาธิปไตยของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยดำเนินมาอย่างไรในห้วงยามที่ประชาธิปไตยไหวเอน
101 Documentary ชวนชม The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Thai Politics

24 Jun 2020

อภิวัฒน์สยาม 2475 : อดีต ปัจจุบัน อนาคต

101 ขอนำเสนอซีรีส์ “อภิวัฒน์สยาม 2475” เพื่ออ่านอดีต เข้าใจปัจจุบัน และมองอนาคตของประชาธิปไตยไทยในมิติการเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ และสังคมวัฒนธรรม

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Thai Politics

6 May 2020

กว่าจะเป็นประชาธิปไตย: ไทยเราอยู่ไหนในแผนที่ประชาธิปไตยโลก

วรรษกร สาระกุล ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทยในกระแสโลกนับแต่อดีต ผ่านภาพเปรียบเทียบที่จะทำให้เห็นมุมกว้างของระบอบการปกครองโลก

วรรษกร สาระกุล

6 May 2020

Thai Politics

10 Jan 2020

เอโดอาร์โด้ ซีอานี่ : ประชาธิปไตยไทยในสายตาโหราศาสตร์

ธิติ มีแต้ม สัมภาษณ์ เอโดอาร์โด้ ซีอานี่ นักมานุษยวิทยาผู้มองเห็นความเชื่อมโยงโลกของโหราศาสตร์และการเมืองไทย

ธิติ มีแต้ม

10 Jan 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save