fbpx

Spotlights

8 Jun 2020

นโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์ (1) : นโยบายสาธารณะกับวิกฤตสุขภาพอันแปรปรวน

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล มองนโยบายสาธารณะช่วงวิกฤตโควิดและหลังจากนั้น ผ่านมุมมองนโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล

8 Jun 2020

Talk Programmes

26 May 2020

101 Policy Forum #4 : นโยบายสู้วิกฤตเศรษฐกิจยุค COVID-19

แต่ละพรรคตีโจทย์เรื่องนโยบายเพื่อสู้วิกฤตเศรษฐกิจในยุค COVID-19 และมีคำตอบรูปธรรมในประเด็นเหล่านี้อย่างไร : การช่วยเหลือประชาชนที่เดือดร้อนจากวิกฤต | แนวทางการใช้บาซูก้าทางการคลัง 1 ล้านล้านบาท | ยุทธศาสตร์การกลับสู่ภาวะปกติ | การสร้างเศรษฐกิจแห่งอนาคต | การลดความเหลื่อมล้ำ | ฯลฯ

กองบรรณาธิการ

26 May 2020

Economic Focus

6 May 2020

ตัดแว่นเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม มองสังคมไทยในยุค COVID-19 กับ ธานี ชัยวัฒน์

มองวิกฤตโควิด-19 ผ่าน “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” กับ ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ พฤติกรรมและข้อจำกัดของคนไทยในการตอบรับมาตรการสาธารณสุขเป็นอย่างไร เราใช้ความรู้เรื่องนี้มาร่วมออกแบบนโยบายสาธารณะเพื่อรับมือโควิดได้อย่างไร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 May 2020

Talk Programmes

1 May 2020

101 One-on-One Ep.132 : “สู้ COVID-19 ด้วยเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม”

101 ชวนมองวิกฤต COVID-19 ผ่านแว่นตา “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” — พฤติกรรม ความเข้าใจ และทัศนคติของคนไทยเรื่อง COVID-19 เป็นอย่างไร และเราใช้ความรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมาช่วยออกแบบนโยบายสาธารณะเพื่อรับมือ COVID-19 อย่างไรได้บ้าง

101 One-on-One

1 May 2020

Social Problems

12 Mar 2020

โรเจอร์ โลหะนันท์ : 25 ปีแห่งการแก้ปัญหาสัตว์จรจัด ในยุคอลหม่านที่การทำงานไม่เป็นระบบ

สรัลพัชร สรรพคุณ คุยกับ โรเจอร์ โลหนันท์ ผู้ก่อตั้งสมาคมพิทักษ์สัตว์ไทย ว่าด้วยปัญหาสัตว์จรจัดที่ยังเรื้อรังในสังคมไทย การทำงานร่วมกันระหว่างภาคประชาชนและภาครัฐ และทางออกของปัญหาในสายตาผู้ที่ทำงานด้านสัตว์จรจัดมากว่า 25 ปี

กองบรรณาธิการ

12 Mar 2020

Education

5 Mar 2020

พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ บนเส้นทางแห่งความหวังและความล้มเหลว

นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ ชวนย้อนพิจารณาบทความของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่ชี้ให้เห็นความล้มเหลวของการปฏิรูปการศึกษา อันสัมพันธ์กับโลกทัศน์ทางการเมืองที่ครอบงำสังคมไทย

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

5 Mar 2020

City

30 Jan 2020

คนไทยในอนาคตล้วนเป็นคนเมือง

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึงอนาคตของเมืองไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า เมื่อทุกหนทุกแห่งกลายเป็นเมือง มีวิถีชีวิตแบบเมือง แม้แต่ในชนบทและพื้นที่ห่างไกล

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

30 Jan 2020

Economy

13 Aug 2018

‘ประชาชน’ ในโลกนโยบายสาธารณะ

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย บอกเล่าประสบการณ์จากการตระเวนพบกลุ่มคนผู้มีบทบาทขับเคลื่อน ‘นโยบายสาธารณะ’ ของสหรัฐฯ ตั้งแต่ระดับผู้กำหนดนโยบาย สื่อมวลชน ไปจนถึงนักการเมือง พร้อมถอดบทเรียนสำคัญที่ไทยควรนำมาปรับใช้

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

13 Aug 2018

Interviews

17 Jul 2018

เศรษฐศาสตร์การเมืองไทยในกระแสเศรษฐศาสตร์การเมืองโลก

จากเฟซบุ๊ก อูเบอร์ เอไอ ถึงกับดักรายได้ปานกลาง 101 ชวน ‘ธานี ชัยวัฒน์’ คุยโจทย์ใหม่ของเศรษฐศาสตร์การเมืองโลกและการปรับตัวของเศรษฐศาสตร์การเมืองไทย

สมคิด พุทธศรี

17 Jul 2018

Economy

26 Jun 2018

ท่องโลกนโยบายสาธารณะและนวัตกรรมการเงินในอเมริกา

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย เล่าประสบการณ์การเดินทางทั่วสหรัฐอเมริกา ผ่าน Eisenhower Fellowships เพื่อเรียนรู้แนวทางใหม่ในกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ และการสร้างนวัตกรรมทางการเงินในโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

26 Jun 2018

Interviews

2 May 2018

เปิดใจ ภูมิธรรม เวชยชัย เลขาพรรคเพื่อไทย ในวันที่ถูกบีบจากอำนาจเก่า – ถูกท้าทายจากคนรุ่นใหม่

ธิติ มีแต้ม สัมภาษณ์ ภูมิธรรม เวชยชัย จากความฝันในการก่อตั้งไทยรักไทยสู่ความจริงที่พรรคเพื่อไทยกำลังเผชิญ ตั้งแต่อำนาจเก่า ประชาธิปัตย์ บทเรียนนิรโทษกรรม และพรรคการเมืองรุ่นใหม่

ธิติ มีแต้ม

2 May 2018

Interviews

4 Apr 2018

“วันนี้หมดเวลาของพวกเราแล้ว” – คุยกับ นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เรื่องอดีตของไทยรักไทย ปัจจุบันของหมอเลี้ยบ และอนาคตของการเมืองไทย

101 ชวน นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี สนทนาเรื่องอดีตของพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันของหมอเลี้ยบ และอนาคตของการเมืองไทย ในวันที่เขาบอกว่า “หมดเวลาของพวกเราแล้ว”

ปกป้อง จันวิทย์

4 Apr 2018

Interviews

7 Mar 2018

คำต่อคำ : “การเมืองแห่งอนาคต” ของธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ

เปิดตัวตน ความคิด และวิถีการเมืองของ “ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ” พร้อมตอบทุกคำถามเกี่ยวกับ “การเมืองแห่งอนาคต” และพรรคทางเลือกใหม่ที่กำลังจะเปิดตัว

กองบรรณาธิการ

7 Mar 2018
1 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save