fbpx

World

2 Jul 2021

การเมืองอเมริกาบนทางสองแพร่ง

ท่ามกลางความขัดแย้งที่พุ่งสูงของการเมืองอเมริกา ผลักให้สถานการณ์เดินไปบนทางสองแพร่ง แต่สุดท้ายทางออกคือการให้ระบบรัฐสภาทำงานตามปกติ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jul 2021

Thai Politics

26 Apr 2021

สร้างสรรค์-ยืดหยุ่น-มีส่วนร่วม : ถึงเวลานโยบายสาธารณะต้องคิดขึ้นจากโจทย์ของประชาชน

101 ถอดความจากงานเสวนา Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา ครั้งที่ 5 ‘นโยบายสาธารณะ’ เพื่อพูดคุยหาข้อเสนอถึงแนวทางการออกแบบนโบายสาธารณะที่จะตอบโจทย์ประชาชนอย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ

26 Apr 2021

Political Economy

18 Jan 2021

เหตุใดนโยบายสนับสนุน ‘โอกาสที่เท่าเทียม’ กลับบ่อนทำลายสังคม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปหาคำตอบว่า ทำไมนโยบายส่งเสริมความเท่าเทียมทางโอกาส ที่เหมือนจะดูดี กลับบ่อนทำลายสังคมและลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

18 Jan 2021

policy praxis

21 Dec 2020

ความแฟร์ในสังคมอยู่ตรงไหน

ฉัตร คำแสง เขียนถึงวิธีการมอง ‘ความแฟร์’ ตามแนวทางของ John Rawls เพื่อชวนคิดว่านโยบายสาธารณะที่ดีต่อสังคมโดยรวมควรมีหน้าตาเป็นแบบใด

ฉัตร คำแสง

21 Dec 2020

Health

16 Dec 2020

หมอมงคล ณ สงขลา – ผู้สร้างสรรค์ระบบสุขภาพไทยโดยไม่ต้องรอเป็นใหญ่

รู้จักตัวตนและผลงานของคุณหมอมงคล ณ สงขลา อดีตปลัดฯ และ รมว.สาธารณสุข ผู้แปลงนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสู่การปฏิบัติ ผ่านสายตา นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

16 Dec 2020

Thai Politics

9 Dec 2020

เลือกตั้งท้องถิ่นภาคอีสาน : อบจ. ต้องเข้มแข็ง อำนาจต้องถึงมือพี่น้องประชาชน กับ อลงกรณ์ อรรคแสง

101 สนทนากับ รศ.ดร.อลงกรณ์ อรรคแสง วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เจาะสนามการเลือกตั้งอีสาน และหาเส้นทางปลดล็อกการกระจายอำนาจในอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

9 Dec 2020

Thai Politics

8 Dec 2020

เลือกตั้งท้องถิ่นภาคเหนือ: ความหวังของคนเมือง เรื่องที่ อบจ. ต้องเข้าใจ กับ ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

101 สนทนากับ รศ.ดร.ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ต้อนรับการมาเยือนของการเลือกตั้งท้องถิ่น 2563 มองภาพพลวัตด้านการเมืองและเศรษฐกิจในภาคเหนือ ความต้องการของคนเมือง และวิธีกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

8 Dec 2020

Thai Politics

7 Dec 2020

เลือกตั้งท้องถิ่นภาคใต้: อบจ. ต้องคาดหวังได้ การกระจายอำนาจต้องมีทิศทาง กับ สินาด ตรีวรรณไชย

101 สนทนากับ ดร.สินาด ตรีวรรณไชย ว่าด้วยพลวัตเศรษฐกิจการเมืองท้องถิ่นของภาคใต้หลังจากการเลือกตั้งท้องถิ่นถูกจำกัดมาหลายปี ความต้องการของคนพื้นที่ แนวทางของผู้สมัครและนโยบายสาธารณะ ไปจนถึงอนาคตของนโยบายกระจายอำนาจ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

7 Dec 2020

policy praxis

3 Nov 2020

เศรษฐศาสตร์การเมืองของความไม่เจริญสักที

ฉัตร คำแสง เขียนถึงเศรษฐศาสตร์การเมืองของนโยบายสาธารณะเพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำให้นโยบายสาธารณะที่ตอบโจทย์ประชาชนมีความเป็นไปได้ทางการเมืองได้อย่างไร

ฉัตร คำแสง

3 Nov 2020

Economy

12 Oct 2020

นโยบายสาธารณะในมือผู้นำหญิง

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ สำรวจความเชื่อมโยงระหว่างการเป็นผู้นำของผู้หญิงและผลลัพธ์ทางด้านนโยบายสาธารณะว่ามีความแตกต่างจากผู้นำชายอย่างไร

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

12 Oct 2020

Media

2 Oct 2020

101 In Focus Ep.59 : Policy Praxis

101 in focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณผู้ฟังสำรวจโลกองค์ความรู้และกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ ผ่านบทความในคอลัมน์ ‘Policy Praxis’ – ไล่เรียงตั้งแต่การพูดถึงรัฐที่มีสภาวะรุงรัง แต่ดันไร้น้ำยา การมองหาจุดตายการทำนโยบายแบบไทยๆ พร้อมเครื่องมือช่วยแก้ปัญหา และชวนไขปริศนาว่า ทำไมภาครัฐตรวจอะไรก็ไม่เคยเจอความผิดปกติสักที

กองบรรณาธิการ

2 Oct 2020

City

28 Aug 2020

เมืองเหลื่อมรู้

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองแห่งความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้ พิจารณาถึงผังเมืองและโครงสร้างพื้นฐานที่ผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงความรู้ ต้นทุนทางสังคม และความแปลกแยกระหว่างกลุ่มคนในสังคม

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

28 Aug 2020

Spotlights

9 Jun 2020

นโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์ (2): ‘ชิ้นส่วนที่หายไป’ ในการรับมือวิกฤตสุขภาพของรัฐไทย

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล ชวนมองวิกฤตโควิด-19 ผ่านนโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์ ที่จะทำให้เห็นนโยบายรัฐในหลากมิติขึ้น

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล

9 Jun 2020
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save