fbpx

Science & Innovation

16 Oct 2023

คนไทยจะไปดวงจันทร์กับเค้าด้วยทำไม?

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจภารกิจด้านอวกาศของหลากประเทศมหาอำนาจ พร้อมย้อนกลับมาดูที่ทางของไทยในสนามการแข่งขันด้านเทคโนโลยีอวกาศ

นำชัย ชีววิวรรธน์

16 Oct 2023

Science & Innovation

12 Sep 2023

คิดแบบไหน ก็ได้แบบนั้น : เอาตัวรอดด้วยหลักจิตวิทยา

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจ ‘จุดอ่อน’ ของสมองมนุษย์ ที่อยู่ในรูปแบบของ ‘อคติ’ ซึ่งส่งผลต่อการคิด ตัดสินใจ และอารมณ์ต่างๆ หากเราตระหนักถึงเรื่องพวกนี้ขึ้นมาได้ทันการณ์ ก็จะสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบมากขึ้น

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Sep 2023

Life & Culture

10 Aug 2023

ทำไมคนชอบโกหก?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยที่เกี่ยวกับการโกหกของมนุษย์ ตั้งแต่นักการเมืองจนถึงคนใกล้ตัว ทำไมการโป้ปดถึงอยู่ในชีวิตประจำวันของเราอย่างแนบแน่น

นำชัย ชีววิวรรธน์

10 Aug 2023

Life & Culture

13 Jul 2023

กิจวัตรลำเค็ญในอวกาศ

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจชีวิตบนความสูงกว่า 100 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลของ ‘นักบินอวกาศ’ ที่ซึ่งกิจวัตรธรรมดาสามัญกลายเป็นเรื่องสุดลำเค็ญได้

นำชัย ชีววิวรรธน์

13 Jul 2023

Life & Culture

20 Jun 2023

ความเจ็บปวดและประโยชน์ที่คาดไม่ถึงจากตัวต่อเลโก้

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจงานวิจัยที่จะเผยถึงเบื้องหลังความสนุก การเสริมสร้างพัฒนาการ ความเจ็บปวด (ถ้าเผลอไปเหยียบ) และประโยชน์ที่คาดไม่ถึงของตัวต่อพลาสติกยอดนิยมที่ชื่อ ‘เลโก้’  

นำชัย ชีววิวรรธน์

20 Jun 2023

Life & Culture

12 May 2023

เลือกตั้งยังไงไม่ให้ ‘เบียว’ ไม่ให้ ‘เบี้ยว’

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปดูงานวิจัยและผลสำรวจจากหลากประเทศ ว่าด้วยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ‘ลงคะแนน’ ให้ผู้สมัครจากพรรคใดพรรคหนึ่ง ไล่เรียงตั้งแต่การชี้นำจากสื่อ การทำโพลแบบมีอคติ การหยิบยกประเด็นทางเชื้อชาติ ศาสนามาหาเสียง ไปจนถึงรูปร่างหน้าตาของผู้สมัคร

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 May 2023

Life & Culture

17 Apr 2023

เมื่อ AI ทำได้ทุกอย่าง มนุษย์ควรวางจริยศาสตร์ให้ AI ไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความสามารถของ Generative AI ในการสร้างสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่เดิมขึ้นจาก Big Data แต่ความก้าวหน้านี้กลับสร้างความท้าทายด้านจริยธรรมต่อมนุษยชาติ

นำชัย ชีววิวรรธน์

17 Apr 2023

Science & Innovation

9 Mar 2023

หรือความขี้เกียจจะช่วยให้มีโอกาสรอดในโลกได้มากขึ้น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงประโยชน์อันคาดไม่ถึงของความขี้เกียจ ที่ช่วยเพิ่มโอกาสมีชีวิตรอดให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์

9 Mar 2023

Science & Innovation

15 Nov 2022

คุณเชื่อใจนักการเมืองได้แค่ไหน?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยสำรวจการรักษาสัญญาของนักการเมืองและสิ่งที่ทำให้ประชาชนเชื่อใจและไม่เชื่อใจนักการเมือง

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Nov 2022

Science & Innovation

12 May 2022

มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่จะเปรียบเทียบกันไปถึงไหน?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงวิทยาศาสตร์ของการเปรียบเทียบ เมื่อมนุษย์ใช้การเปรียบเทียบเป็น ‘ไม้บรรทัด’ เพื่อวัดความก้าวหน้าของตัวเอง

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 May 2022

Science & Innovation

19 Apr 2022

โควิด-19 กำลังจะกลายเป็นโรคประจำถิ่น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ ชวนสำรวจข้อมูลว่า โควิด-19 จะกลายเป็นโรคประจำถิ่นได้อย่างที่หลายประเทศ รวมถึงไทยจะประกาศเร็วๆ นี้หรือไม่ และจะส่งผลต่อสิทธิการรักษาอย่างไรบ้าง

นำชัย ชีววิวรรธน์

19 Apr 2022

Life & Culture

12 Dec 2021

ความแรงของความลวง

นำชัย ชีววิวรรธน์ ชวนไปหาคำตอบว่าเพราะอะไรเฟกนิวส์ถึงแพร่กระจายไปได้ไกลกว่าข่าวจริง ผ่านงานวิจัยที่ศึกษาเรื่องการทวีตและรีทวีตในทวิตเตอร์

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Dec 2021

Life & Culture

15 Nov 2021

สยองวิทยา ผวาศาสตร์

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงเหตุผลว่าทำไมคนถึงชอบดูหนังผีทั้งๆ ที่กลัว อะไรคือสาเหตุเบื้องหลังการกระทำที่ชวนย้อนแย้งเช่นนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Nov 2021

Life & Culture

14 Sep 2021

ฟื้นใจเมือง

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึง ‘บาดแผลรวมหมู่’ หรือ อาการที่เกิดขึ้นกับเมืองและผู้คน หลังจากมีการระบาดของโรคโควิด-19 มาเป็นระยะเวลานาน อาการที่ว่าส่งผลอย่างไรต่อสังคม และเราควรมีวิธีป้องกันและรับมือกับเจ้าอาการนี้อย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์

14 Sep 2021
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save