ประเทศกูดี
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ชวนสำรวจทัศนะของคนทำงานสื่อสารมวลชนที่ถูกแวดล้อมด้วยโลกทัศน์แบบ “มองโลกในแง่ดี” และ “มองโลกในแง่ร้าย”

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ชวนสำรวจทัศนะของคนทำงานสื่อสารมวลชนที่ถูกแวดล้อมด้วยโลกทัศน์แบบ “มองโลกในแง่ดี” และ “มองโลกในแง่ร้าย”
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าถึงสาระสำคัญของความพยายามเปิดพื้นที่ทางความคิด การอ่าน การเขียน เสวนาสังสรรค์ ในห้วงยามที่บ้านเมืองถูกลดทอนพื้นที่ไปทุกตารางนิ้ว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าถึงการทำงานสื่อในสถานการณ์ฉุกเฉิน ทั้งเผชิญกับเงื่อนไขรายล้อม ทั้งภาระและพันธะ แล้วอะไรทำให้ต้องตัดสินใจเลือก…
เมื่อไวรัสบังคับให้เว้นระยะห่าง วรพจน์ พันธุ์พงศ์ จึงบอกเล่าแง่งามของ ‘ระยะ’ ในคืนวันที่ทำงานกับเพื่อนช่างภาพ ก่อนจะเรียนรู้การทำงานคนเดียว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงภาวะการทำงานสัมภาษณ์ในยุคสมัยที่ยังไม่มีใครเรียกอาชีพ “นักสัมภาษณ์” กระทั่งผ่านคืนวันมาจนตกผลึกว่า “เหงื่อ งาน และการลงแรง” คือคำตอบ
คอลัมน์ #interview101 วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงการถอดเทป กิจกรรมที่สื่อมวลชนคุ้นชิน เบื่อหน่าย ทว่ามองข้ามไม่ได้
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ถอดบทเรียน 40 ข้อจากประสบการณ์การทำงานสัมภาษณ์ ตั้งแต่เรื่องพื้นฐานอย่างการรักษาเวลา ไปจนถึงฉากฝังใจอย่างการเผลอหลับต่อหน้าแหล่งข่าว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงปัญหาคลาสสิกที่นักสัมภาษณ์ทุกคนต้องเจอ คือ ‘คำถามแรก จะถามอะไร’ พร้อมยกกรณีตัวอย่างจากการสัมภาษณ์ตัวละครหลากหลาย
เก็บความจากเวทีเสวนาเชิดชูเกียรติศิลปินศิลปาธร 2562 คุยกับ ‘วรพจน์ พันธุ์พงศ’ เจ้าของรางวัลศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ คนล่าสุด ว่าด้วยวิธีคิดในการทำสื่อ และกลเม็ดในการทำงานสัมภาษณ์
คอลัมน์ Interview 101 โดย วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึง ‘ครู’ ทั้งครูที่เป็นบุคคล และครูพักลักจำ หรือ สื่อ ในฐานะผู้สอน ผู้ให้ประสบการณ์ และต้นแบบ ตลอดเส้นทางการทำงานสื่อสารมวลชน
คอลัมน์ Interview101 วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึง ระยะเวลาของการสัมภาษณ์ ทีใช้ความรู้สึกอิ่มเป็นเครื่องจับเวลา
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงความเข้าใจใน ‘สถานะ’ ของคนทำสื่อ คนทำสัมภาษณ์ เมื่อการหลงสถานะ หลงบทบาท อาจทำให้เสียผู้เสียคน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า