7 ข้อคิด สร้างโลกแห่งนวัตกรรมหลังโควิด
สันติธาร เสถียรไทย ชวนอ่าน 7 ข้อคิด ตกผลึกจากการประชุมกลุ่มประธานทีมเศรษฐกิจจากภาคเอกชนและองค์กรนานาชาติทั่วโลก ว่าด้วยอนาคตของการลงทุน นวัตกรรมและผลิตภาพในโลกหลังโควิด-19

สันติธาร เสถียรไทย ชวนอ่าน 7 ข้อคิด ตกผลึกจากการประชุมกลุ่มประธานทีมเศรษฐกิจจากภาคเอกชนและองค์กรนานาชาติทั่วโลก ว่าด้วยอนาคตของการลงทุน นวัตกรรมและผลิตภาพในโลกหลังโควิด-19
บทอภิปรายของปกป้อง จันวิทย์ ว่าด้วยคน-ความรู้-อำนาจ ในระบบวิจัยและนวัตกรรม ในงานเสวนาสาธารณะของ สกสว.
โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านความสัมพันธ์ระหว่าง Apple กับการใช้ชิปของ Intel เจ้าตลาดโปรเซสเซอร์
Eyedropper Fill เขียนถึง Future and the Arts: AI, Robotics, Cities, Life – How Humanity Will Live Tomorrow พื้นที่รวบรวมและจัดแสดง ‘นวัตกรรม’ ที่กำลังพามวลมนุษยชาติไปข้างหน้า ผสานกับ ‘ศิลปะ’
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ภูมิ ภูมิรัตน ถึงทิศทางความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสร้างความยุติธรรมในสังคม
คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill หยิบเอาเรื่องเล่าจากประสบการณ์การทำโปรเจ็กต์กับชุมชนทั้ง 3 ชิ้นมาเล่าสู่กันฟัง
สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึงการบริหารความหลากหลายในองค์กร โดยเฉพาะการดึงศักยภาพจากคนที่เป็น ‘แกะดำ’ อันเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารองค์กรยุคใหม่
ชวนสำรวจ ‘Global Competitiveness Index 4.0’ ของ World Economic Forum ในฐานะ ‘เข็มทิศ’ นำทางประชาคมโลก เครื่องมือใหม่ที่ช่วยให้เราเข้าใจพลวัตของเศรษฐกิจโลกใหม่ ไทยจะยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างไรให้อนาคตไทยทันโลก
Eyedropper Fil พาไปเดินชมนิทรรศการ Design Ah! ที่โตเกียว ว่าด้วยความคิดสร้างสรรค์จากรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กยอดฮิตในชื่อเดียวกัน ทุกเนื้อหาที่ถูกเล่าในจอแบนๆ จะถูกเอามาระเบิดออกกลายเป็นสิ่งที่จับต้องได้ และเล่นได้ราวสวนสนุก นิทรรศการช่วยเปิดให้เราเห็นว่า เพราะอะไร ‘ความคิดสร้างสรรค์’ จึงฝังอยู่ในดีเอ็นเอของคนญี่ปุ่น
จากปัตตานีสู่ MIT Media Lab คุยกับ พัทน์ ภัทรนุธาพร หรือ พีพี นักประดิษฐ์อนาคตด้วยนวัตกรรมล้ำยุค เช่น เครื่องปรินต์อาหารสามมิติบนอวกาศ มารู้จักชีวิตและมุมมองด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และสังคมไทยของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มด้าน Biotechnology ผู้อยากเป็นไดโนเสาร์ติดปีก
วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่อง 4 ความก้าวหน้าใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ที่จะส่งผลช่วยชีวิตมนุษย์ และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนได้อย่างมหาศาลในอนาคต
สัมภาษณ์สุดพิเศษ อเล็ก รอสส์ สนทนากับ 101 เรื่องอุตสาหกรรมแห่งอนาคตกับประเทศกำลังพัฒนา ด้านมืดของเทคโนโลยีใหม่ จนถึงเศรษฐกิจการเมืองแห่งอนาคตของสหรัฐอเมริกา และเส้นทางทางการเมืองของเขา
สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน The Innovation Blind Spot ของ Ross Baird หนังสือที่ตอบคำถามว่า อะไรคือ “จุดบอด” ที่ทำให้เศรษฐกิจนวัตกรรมล้มเหลว นักลงทุนควรเปลี่ยนแปลงวิธีคิดและวิธีลงทุนอย่างไร ให้ได้นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ของสังคมอย่างแท้จริง
ใครสงสัยว่าธุรกิจจีนมีดีแค่ลอก หรือนักธุรกิจจีนเก่งจริงไหม สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ China’s Disruptors ของ เอ็ดเวิร์ด เซ ผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ทางธุรกิจจีน ที่เปิดมุมมองอีกด้าน ชี้ให้เห็นพลวัตและนวัตกรรมเขย่าโลกจากธุรกิจจีน ผ่านโมเดลธุรกิจของ Alibaba, Tencent, Xiaomi, Huawei และ Haier
กฎระเบียบและการกำกับดูแลของรัฐ ในโลกยุคเทคโนโลยีใหม่ป่วนธุรกิจเก่า ควรเป็นอย่างไร? พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มอง ‘อูเบอร์’ แล้วชวนคิดต่อว่า กฎหมายมีไว้ทำไม และการกำกับดูแลของรัฐควรมีเป้าหมายเพื่อใคร – ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการรายเดิม
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า