กบฏรีพับลิกัน: การสร้างความหมายใหม่แก่ประชาธิปไตยในอเมริกา
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าเบื้องหลัง ‘มหาภารตะ’ ฉบับอเมริกัน ท่ามกลางความแตกแยกในพรรครีพับลิกันคู่ขนานไปกับความแตกแยกระดับประเทศ ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับฝ่ายขวาสุดขั้วและเชื้อชาตินิยมผิวขาว

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าเบื้องหลัง ‘มหาภารตะ’ ฉบับอเมริกัน ท่ามกลางความแตกแยกในพรรครีพับลิกันคู่ขนานไปกับความแตกแยกระดับประเทศ ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับฝ่ายขวาสุดขั้วและเชื้อชาตินิยมผิวขาว
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา
อะไรคือประเด็นที่น่าสนใจจากการเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ที่ผ่านมา ดุลอำนาจการเมืองในสหรัฐฯ รวมไปถึงทิศทางการเมืองโลกจะเป็นอย่างไร ชวนหาคำตอบจากสามผู้เชี่ยวชาญที่ติดตามการเมืองอเมริกาอย่างใกล้ชิดผ่านการวิเคราะห์และความเห็นของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และ ปกป้อง จันวิทย์
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบการยึดอำนาจด้วยกำลังนอกระบบของไทยกับอเมริกาว่ามีลักษณะร่วมและจุดต่างกันอย่างไรบ้าง
101 Round Table ชวนวิเคราะห์ทิศทางการเมืองสหรัฐฯ และโลกหลังการเลือกตั้งกลางเทอม 2022 โดยสามผู้ติดตามการเมืองสหรัฐฯ
จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สถานการณ์และชวนจับตาศึกทางกฎหมายจากการพยายามเอาผิดโดนัลด์ ทรัมป์ จากเหตุการณ์บุกคองเกรส อันทำลาย ‘consensus’ ของสังคมอเมริกันที่ดำเนินมายาวนาน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ทำความเข้าใจการเมืองอเมริกันในยุคหลังโลกาภิวัตน์ผ่านการสอบสวนความจริงในเหตุการณ์บุกสภาคองเกรสเมื่อ 6 ม.ค. 2021
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ที่มาที่ไปก่อนที่ศาลสูงสุดสหรัฐฯ จะคว่ำคำพิพากษาคดีปัญหาการทำแท้งประวัติศาสตร์ (Roe v. Wade) ท่ามกลางการต่อสู้ยาวนานของฝ่าย pro-choice และฝ่าย pro-life และเกมการหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง
จากเหตุกราดยิงในอเมริกา ธเนศ อาภรณ์สุวรรณวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมรุนแรงโดยมองผ่านพัฒนาการทางสังคมอเมริกานับแต่อดีต
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงมโนทัศน์ของปูตินเรื่องจักรวรรดิจินตกรรมในนามของ ‘สหภาพยูเรเชีย’ ผ่านประวัติศาสตร์สังคมการเมืองของรัสเซีย
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเหตุผลการบุกยูเครนของรัสเซียผ่านรากความเชื่อทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแก่นคิดของปูตินที่ใช้ในการปกครองเสมอมา
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลสูงสุดในสหรัฐอเมริกาที่กำลังจะมีขึ้นในราวปลายเดือนกุมภาพันธ์นี้ ซึ่งเป็นตัวสะท้อนสำคัญของความเปลี่ยนแปลงในภูมิทัศน์ของระบบประชาธิปไตยในอเมริกา
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนคิดถึงคำถามที่ว่า “ทำไมต้องทำงาน?” ผ่านปรากฏการณ์การลาออกอันยิ่งใหญ่ที่เป็นผลจากโรคระบาดอันทำให้คนต้องเปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานและสถานที่ทำงาน จนนำไปสู่การตั้งคำถามถึงงานที่ทำอยู่
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า