มารุต บุนนาค : ชีวิตที่เรียนรู้ไปเพื่อรับใช้ประชาชน
กษิดิศ อนันทนาธร ย้อนรำลึกถึง ‘มารุต บุนนาค’ นักกฎหมาย อาจารย์ อดีตประธานรัฐสภา ผู้มีคุณูปการแก่วงการนิติศาสตร์ไทย

กษิดิศ อนันทนาธร ย้อนรำลึกถึง ‘มารุต บุนนาค’ นักกฎหมาย อาจารย์ อดีตประธานรัฐสภา ผู้มีคุณูปการแก่วงการนิติศาสตร์ไทย
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ชวนย้อนมองอดีตของงานฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์ และทบทวนที่ทางของงานบอลในยุคสมัยปัจจุบัน
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการส่งต่ออุดมการณ์ ความรู้สึกนึกคิด และสายสัมพันธ์จากคนรุ่นก่อนสู่คนรุ่นหลังผ่านกล่องฟ้าสาง
เหตุใดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงจะถูกย้ายและกลายเป็นโรงแรม? อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวการปกป้องสถานศึกษาจากอำนาจรัฐของชาว มธก.
สนทนากับ ผศ.ดร.อดิศร จันทรสุข ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่รับบทบาทดูแลนักศึกษา เป็นทั้ง ‘นายประกัน’, ตัวกลางในการเจรจา, และอาจารย์ที่อยากเห็นนักศึกษาปลอดภัย ว่าด้วยสถานการณ์การเมืองการชุมนุม และโจทย์ที่ท้าทายคนรุ่นใหม่ทั้งด้านความคิดและความรู้สึก
วจนา วรรลยางกูร ชวนมองสังคมไทยปัจจุบันผ่านละครเวที ‘คือผู้อภิวัฒน์’ เพื่อเข้าใจต้นธารของแนวคิดการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยเพื่อให้อำนาจเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง
เนื่องในวาระครบ 120 ปีชาตกาลของรัฐบุรุษอาวุโส กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงความตั้งใจของปรีดี พนมยงค์ที่ต้องการจารึกประวัติศาสตร์คดีสวรรคตของร.8 ไว้เป็นมรดกแก่ชนรุ่นหลัง
สรุปความจากรายการ 101 One-on-One Ep.116 คุยกับเกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนปัจจุบัน ผู้อยู่เบื้องหลังการจัดการวิกฤตโควิด-19 ในธรรมศาสตร์ ที่ได้รับเสียงชื่นชมว่าจัดการเป็นระบบ
ในวาระ 103 ปีชาตกาล (9 มีนาคม 2459 – 2562) ของป๋วย อึ๊งภากรณ์ กษิดิศ อนันทนาธร ชวนรำลึกถึงผู้มีวิสัยทัศน์ มาก่อนกาล ในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต
ในวาระ 42 ปีของเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ กษิดิศ อนันทนาธร ทบทวน 6 เรื่องของเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ที่เกี่ยวกับ ‘ป๋วย อึ๊งภากรณ์’ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในห้วงเวลาประวัติศาสตร์ครั้งนั้น
กษิดิศ อนันทนาธร ชวนหาคำตอบว่าเพราะเหตุใด ‘ป๋วย อึ๊งภากรณ์’ จึงยังเป็น ‘บุคคลอมตะ’ ที่ส่งอิทธิพลต่ออนุชนเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ต่างจากบุคคลสำคัญหลายคนในประวัติศาสตร์ที่ ‘ตายแล้วตายเลย’
รายการ #Threesome สัปดาห์นี้ คุยกันเรื่อง ‘งานบอลจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์’ ที่กำลังจะมาถึง
จุดเริ่มต้นของงานบอลฯ มาจากอะไร / จุดประสงค์ในอดีตและปัจจุบันต่างกันหรือไม่ / และมันมีคุณูปการต่อสังคมไทยในแง่ใดบ้าง ?
มาร่วมหาคำตอบได้ใน ep12 ‘งานบอลจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ กับสังคมไทย’ ติดตามชมพร้อมกัน วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์นี้ เวลาสองทุ่มตรง
ทุกๆ ปี เราจะได้ข่าวคราวการจัดงานฟุตบอลประเพณีของสองมหาวิทยาลัยใหญ่ – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งหลายคนก็อาจจะงงอยู่ว่างานนี้คืออะไร จัดมาได้อย่างไร และทำไมเราต้องสนใจ งานนี้มี ‘หน้าที่’ อะไรต่อสังคมวงกว้างหรือเปล่า
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า