“อำนาจทำงานกับเราตลอด 24 ชั่วโมงใน 7 วันต่อ 1 สัปดาห์” ภู กระดาษ
คุยกับภู กระดาษ ว่าด้วยหนังสือ 24-7/1 มุมมองต่อเศรษฐกิจสังคม อัตลักษณ์ความเป็นลาว และความคาดหวังต่อการเขียนหนังสือ

คุยกับภู กระดาษ ว่าด้วยหนังสือ 24-7/1 มุมมองต่อเศรษฐกิจสังคม อัตลักษณ์ความเป็นลาว และความคาดหวังต่อการเขียนหนังสือ
ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกซึมเศร้า: Mark Fisher, โลกสัจนิยมแบบทุน และลัดดาแลนด์’ ผลงานของสรวิศ ชัยนาม 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยโลกสัจนิยมแบบทุน และชวนตั้งคำถามว่าอาการซึมเศร้ารวมหมู่ที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของปัจเจกหรือเรื่องของทุนกันแน่
ในวาระครบรอบ 1 ปีการประกาศข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ 101 สนทนากับ ปวงชน อุนจะนำ ว่าด้วย บทบาท-สถานะ-อำนาจของ ‘สถาบันกษัตริย์กระฎุมพี’ ในทุนนิยมและประชาธิปไตยไทยท่ามกลางกระแสคลื่นลมแห่งความเปลี่ยนแปลงที่ถูกกดทับทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจมานาน
คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง เดวิด เพื่อนนักศึกษาฝ่ายซ้าย ผู้เข้าใจวัฒนธรรมไทยด้วยการกินหมากพลูไหว้ศาลเจ้าที่ และมักวิพากษ์ระบบทุนนิยมโลกผ่านรสนิยมทางดนตรี
ปฐมพงศ์ กวางทอง ชวนมองภาพยนตร์ ‘ดาบพิฆาตอสูร เดอะมูฟวี่: ศึกรถไฟสู่นิรันดร์’ ที่เปรียบการต่อสู้ระหว่างนักล่าอสูรและอสูรเหมือนการต่อสู้ของชนชั้นแรงงานกับระบอบทุนนิยมในสังคมจริง
อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนอ่านมุมมองเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจโลก ผ่านกรอบแนวคิดแบบสำนักเศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (NIEs) ของดักลาส นอร์ธ
101 in focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณฟังอีกมุมมองหนึ่งเรื่องการแก้ความเหลื่อมล้ำด้วยการศึกษา ข้อจำกัดในโลกความเป็นจริง และมิติด้านอื่นในสังคมที่เราควรใส่ใจมากยิ่งขึ้น
พศธน แสงวันลอย เขียนถึงหนังสือ ‘ทุนในศตวรรษที่ 21’ ของ Thomas Piketty และชี้ให้เห็นถึงข้อจำกัดของการศึกษาในระบอบทุนนิยมที่อาจไม่เพียงพอต่อการลดความเหลื่อมล้ำ
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านแนววิเคราะห์ รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อีกครั้ง ทั้งในฐานะ ‘ปฏิบัติการทางปัญญา’ แห่งยุคสมัย และในฐานะบทวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองไทย ซึ่งพลิกผันปั่นป่วนอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลายทศวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน
วิกฤตไวรัส COVID-19 เผยให้เห็นวิกฤตอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่ใต้ภูเขาน้ำแข็ง? แล้วโลกหลังยุค COVID-19 จะหมุนต่อไปอย่างไร? 101 ชวนเปิดจักรวาลความคิดนักคิดระดับโลก สำรวจปัจจุบัน และมองไปยังอนาคต
จากวิกฤตไวรัสในสหรัฐอเมริกา สู่วิกฤตระบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ชวนอ่านบทวิเคราะห์จาก ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ หาคำตอบจากข้อถกเถียงที่ว่า ‘ปัจจัยทางเศรษฐกิจ’ ส่งผลต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างไร โดยวิเคราะห์ผ่านตัวอย่างจากประเทศต่างๆ ในลาตินอเมริกา
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงข้อเสนอการจัดระเบียบโลกใหม่ด้วยการกลับไปหาโลกาภิวัตน์แบบเก่า พร้อมกับสร้างชาตินิยมแบบใหม่ เพื่อลดความปั่นป่วนทางเศรษฐกิจและการเมือง
อะไรคือปัญหาของสหภาพยุโรปในโลกเสรีนิยมใหม่ ทำไมคำอธิบายใหม่ๆ จึงจำเป็นในการเมืองโลกปัจจุบัน
จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘ที่มา’ ของความแตกแยกในยุโรป และฉายภาพ ‘ที่ไป’ ของสหภาพยุโรปในอนาคต
ภาคิน นิมมานนรวงศ์ พาเข้าไปดูถึงโครงสร้างของทุนนิยม เมื่ออุดมการณ์ของทุนนิยมไม่ได้ถูกมองว่าเป็นอุดมการณ์อย่างหนึ่งเหมือนในช่วงสงครามเย็นอีกต่อไป ทว่ามันค่อยๆ ถูกพูดถึงราวกับเป็นข้อเท็จจริงทางสังคม และเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์มากที่สุด เราจะทำอย่างไรเมื่อทุนนิยมเรียกร้องให้ ‘ปัจเจกชน’ ต้องทำทุกทางเพื่อให้อยู่รอด
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า