เห็บหมัดของตุลาการภิวัตน์
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘นักร้อง’ ที่ใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือส่งเสริมความคิดฟากตนเอง อันเป็นผลพวงมาจากตุลาการภิวัตน์

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘นักร้อง’ ที่ใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือส่งเสริมความคิดฟากตนเอง อันเป็นผลพวงมาจากตุลาการภิวัตน์
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงภาวะ ‘ความเสื่อมทรามของรัฐธรรมนูญ’ เมื่อผู้มีอำนาจพยายามรื้อถอนทำลายกฎเกณฑ์และกลไก จนรัฐธรรมนูญกลายเป็นเครื่องมือใช้อ้างว่าเป็นที่มาอันชอบด้วยกฎหมาย
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดเรื่อง ‘ตุลาการภิวัตน์’ และ ‘นิติสงคราม’ ที่ดำรงอยู่ตลอดทศวรรษครึ่งในการเมืองไทย จนทำให้ประชาธิปไตยวิบัติเพราะนิติธรรมวิบัติ
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้สมาชิกสภาพ ส.ส. ของนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ สิ้นสุดลง นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่ศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทสั่นสะเทือนการเมืองไทย คำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี 2549 หลายครั้งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่ กระทั่งเปลี่ยนขั้วอำนาจทางการเมือง 101 In Focus EP.18 ชวนคุยชวนคิดเรื่อง “ตุลาการธิปไตย” ผ่านผลงานสื่อของ 101
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘ตุลาการนิยมล้นเกิน’ โดยยกกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสถาบันตุลาการทั่วโลก ที่ขยับบทบาทจากการชี้ขาดประเด็นทางกฎหมายมาสู่การใช้อำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ประชาธิปไตย
อ่านตุลาการภิวัตน์รอบล่าสุดกับ พนัส ทัศนียานนท์ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540, ส.ว. ตาก (จากการเลือกตั้ง) และผู้สมัคร ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย ในการเลือกตั้งครั้งล่าสุด
คุยกับ ‘สมชาย ปรีชาศิลปกุล’ ว่าด้วยบทบาททางการเมืองขององค์กรตุลาการและผู้พิพากษาในสังคมไทยในช่วงทศวรรษแห่งความขัดแย้ง
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มองการยุบพรรคไทยรักษาชาติ แล้วย้อนไปถึงประวัติศาสตร์การยุบพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ 2475 จำนวน 365 พรรค อันมีส่วนทำให้พรรคการเมืองไทยไม่เติบโตอย่างต่อเนื่องและไม่สามารถสร้างความเป็นสถาบันการเมืองที่เข้มแข็งได้
:: LIVE :: 101 One-on-One Ep.63 ชวน “สมชาย ปรีชาศิลปกุล” มาสนทนาเรื่องบทบาทขององค์กรตุลาการและผู้พิพากษาในสังคมการเมืองไทย โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษแห่งความขัดแย้ง ชวนคุยโดย ยิ่งชีพ อัชฌานนท์
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนกลับไปย้อนอ่านหนังสือ “ตุลาการภิวัตน์” ของธีรยุทธ บุญมี หนึ่งทศวรรษผ่านไป อะไรคือบทเรียนสำคัญของงานชิ้นนี้
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า