fbpx

POETIC

9 Jun 2018

เบื้องหลังบทกวีของ เกษียร เตชะพีระ

ชวนสนทนาเรื่องบทกวีกับ ‘เกษียร เตชะพีระ’ และพินิจความงามของ ‘กวีฝ่ายซ้าย’ กับนักวิชาการผู้ได้ชื่อว่าแต่งบทกวีได้งดงาม คมคาย และทันสถานการณ์ที่สุดในเวลานี้

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Jun 2018

City

7 Jun 2018

ค้นหาทองหล่อ-เอกมัยฉบับคนเดินเท้า (2)

ตระเวนยามค่ำของทองหล่อ-เอกมัย ย่านที่มีบาร์ลับเป็นที่คุยธุรกิจ ร้านกาแฟเป็นที่ปิดดีลนับสิบล้าน และร้านลาบเป็นศูนย์รวมของผู้ทำงานยามค่ำคืน

ชลธร วงศ์รัศมี

7 Jun 2018

Life & Culture

2 Jun 2018

ค้นหาทองหล่อ-เอกมัยฉบับคนเดินเท้า (1)

6 โมงเช้า-6 โมงเย็น กับการเดินเท้าในย่านทองหล่อ-เอกมัย จะเป็นอย่างไรบ้าง 101 ชวนเดินเท้าชิลชิลไปในย่าน ทองหล่อ-เอกมัย ที่ว่ากันว่าเป็นที่อยู่อาศัยสมบูรณ์แบบ

ชลธร วงศ์รัศมี

2 Jun 2018

Books

23 May 2018

Ode to Joy : ความตายของนักพฤกษศาสตร์และบทกวีแด่ความปีติรื่นรมย์

‘Ode to Joy’ คือเพลงที่เดวิด กูดดอลล์ ชายชราผู้ปรารถนาการุณยฆาตเลือกฟังก่อนตาย เหตุใดเพลงนี้จึงเหมาะสมเป็นเพลงอำลาชีวิต และหากใครยังอยากมีชีวิตต่อไป ‘Ode to Joy’ เหมาะสำหรับใช้ฉลองการได้มีชีวิตอยู่เช่นกัน

ชลธร วงศ์รัศมี

23 May 2018

Health

17 May 2018

เมื่อโรคอยู่ในลมหายใจคนไทย : เอกซเรย์ความคิด นพ.ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร

เพราะอะไรคนไทยจึงเป็น ‘โรคทางเดินหายใจ’ กันมากขึ้น ไขข้อข้องใจโดยศัลยแพทย์ด้านไซนัสมือวางอันดับต้นๆ ของประเทศ รศ.นพ.ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร และในอากาศที่เราหายใจมีปัจจัยก่อโรคใดซ่อนอยู่ ?

ชลธร วงศ์รัศมี

17 May 2018

Spotlights

10 May 2018

Dust Atlas (5) : ยุคเท่าทันฝุ่น

เมื่อยุคอยู่กับฝุ่นมาถึง เราจะมีวิธีรับมือปัญหาอย่างไร สำรวจองค์ความรู้ในการจัดการฝุ่น PM 2.5 ที่มีในสังคมไทย ซึ่งการแก้ปัญหานี้อาจทำให้เกิดการหันหน้าเข้าหากันครั้งใหญ่มากกว่าที่คิด

ชลธร วงศ์รัศมี

10 May 2018

Spotlights

4 May 2018

Dust Atlas (4) : ฝุ่น PM 2.5 และสิทธิมนุษยชน

ปริมาณฝุ่น PM 2.5 สัมพันธ์กับระดับความเข้มแข็งของสิทธิมนุษยชนมากกว่าที่คิด การต่อรองให้ได้เมืองที่ดีและอากาศสะอาดหายใจ ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาง่ายดายแต่ต้องผ่านการต่อรองบนฐานอำนาจที่เท่าเทียม

ชลธร วงศ์รัศมี

4 May 2018

Spotlights

19 Apr 2018

Dust Atlas (3) ฝุ่นในดินแดนคอมมิวนิสต์และโลกเสรี

จีนและอเมริกาแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 อย่างไร คอมมิวนิสต์เกินไป? หรือประชาธิปไตยเกินไปหรือไม่? ในความเข้มงวดอาจมีผ่อนเพลาอำนาจ และในความยืดหยุ่นอาจมีกรอบแข็งแรง

ชลธร วงศ์รัศมี

19 Apr 2018

POETIC

14 Apr 2018

บทกวีแด่โรคมะเร็ง

โรคมะเร็งมีบทกวีเป็นของตนเองมากอย่างน่าทึ่ง ทั้งตลกร้าย โศกเศร้า กระทั่งบทกวีที่เอ่ยถึงพัฒนาการของมัน คอลัมน์ Poetic ชวนผู้อ่านเจาะเข้าไปในเซลล์มะเร็งที่เชื่อมต่อกับหัวใจกวีใน ‘บทกวีแด่โรคมะเร็ง’

ชลธร วงศ์รัศมี

14 Apr 2018

Spotlights

9 Apr 2018

Dust Atlas (2) : เมื่อฝุ่นสัญจร

ร่วมเดินทางไปกับฝุ่นที่จุดตั้งต้นแสนเรียบง่าย ทว่าค่อยๆ พัฒนาจนเป็นฝุ่นแสนซับซ้อน และยากจะกำจัดจากชีวิตมนุษย์อีกต่อไป

ใน 101 Spot Light ตอน “เมื่อฝุ่นสัญจร” โดย ชลธร วงศ์รัศมี

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Apr 2018

Interviews

9 Apr 2018

“รบเถิดอรชุน” คุยเรื่องอเมริกากับภาณุ ตรัยเวช

ชลธร วงศ์รัศมี คุยกับ ภาณุ ตรัยเวช ว่าด้วยผลงานเล่มล่าสุด ‘America first รบเถิดอรชุน’ เจาะลึกบทบาทของอเมริกาช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และมองย้อนกลับมายังสถานการณ์ปัจจุบ้ัน

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Apr 2018

Thai Politics

3 Apr 2018

นาฬิกาประวิตร : อย่าหยุดที่การแซะ

เหตุใดวัฒนธรรมการแซะจึงทำอะไรพลเอกประวิตรผู้ครอบครองนาฬิกาหรูไม่ได้ วิธีการตรวจสอบอำนาจรัฐด้วยการเสียดสีและอารมณ์ขันมีช่องว่างใดน่าเติมเต็ม

ชลธร วงศ์รัศมี

3 Apr 2018

POETIC

18 Mar 2018

กวีในวิทยาศาสตร์

การเดินทางของแสง สปีชีส์ และบทกวีไปด้วยกันได้อย่างไร ชลธร วงศ์รัศมี บอกเล่าในคอลัมน์
Poetic ว่าบทกวีและวิทยาศาสตร์มีสัมพันธ์เกี่ยวกระหวัดกันมากกว่าที่คิด

ชลธร วงศ์รัศมี

18 Mar 2018

Social Movement

26 Feb 2018

ป้าขวานกับจักรวาลความรุนแรงในสายตานักสันติวิธี จันจิรา สมบัติพูนศิริ

เมื่อความยุติธรรมไม่มาหา เราควรแก้ปัญหาสไตล์ป้ามากขึ้นหรือไม่? สังคมไทยควรเดินต่อไปอย่างไรเพื่อลดความรุนแรง

ชลธร วงศ์รัศมี

26 Feb 2018
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save