fbpx

Trends

31 Jan 2020

เทรนด์การเมืองใหม่ เมื่อนักเคลื่อนไหวกลายเป็นนักการเมือง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองเทรนด์การเมืองทั่วโลกเมื่อนักกิจกรรมผันตัวมาลงเลือกตั้งเพื่อผลักดันกฎหมายหรือนโยบายที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ของตน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

31 Jan 2020

Trends

6 Dec 2019

ประชาชนลุกฮือทั่วโลก?: สาเหตุ ยุทธวิธี และอนาคตของการประท้วง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ พาไปสำรวจคลื่นการประท้วงทั่วโลกที่กำลังเกิดขึ้น โดยมองถึงสาเหตุ ยุทธวิธี และอนาคตที่คลื่นนี้จะพาไปถึง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

6 Dec 2019

Thai Politics

18 Oct 2019

กระบวนการประกอบสร้าง ‘ความมั่นคง’ (securitization): แนวคิดและตัวอย่าง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงกระบวนการสร้าง ‘ความมั่นคง’ ของรัฐ ผ่านการศึกษาความมั่นคงระหว่างประเทศ 3 สำนัก ที่ต้องดูคำนิยามว่าเป็นความมั่นคงของใคร และอะไรคือภัยคุกคามที่ต้องรับมือ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

18 Oct 2019

Europe

16 Sep 2019

‘สิ่งเก่าไปสิ่งใหม่ยังไม่เกิด’ : ประชาธิปไตยและเผด็จการในยุโรป จากศตวรรษที่ 18 ถึง 21

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงพัฒนาการของเสรีนิยมประชาธิปไตยในยุโรปที่เต็มไปด้วยขวากหนามและแลกมาด้วยชีวิตประชาชนเรือนล้านระหว่างเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

16 Sep 2019

Social Movement

19 Jul 2019

ปฏิบัติการทวงคืน ‘อนาคต’ ของคนรุ่นใหม่: จากโลกถึงไทย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงการลุกฮือของ ‘เด็ก’ ในสวีเดน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ในประเด็นสิ่งแวดล้อม ความรุนแรง และประชาธิปไตย อันทำให้เห็นพลังของคนรุ่นใหม่ที่หวังสร้างความเปลี่ยนแปลง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

19 Jul 2019

Global Affairs

27 May 2019

สถาบันรัฐ ความเสื่อมถอย และความขัดแย้งเรื้อรัง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนทำความเข้าใจความขัดแย้งผ่านความสัมพันธ์ของระบอบการเมืองและประสิทธิภาพของสถาบันรัฐ เมื่อมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า ‘การเมืองแบบครึ่งผีครึ่งคน’ เสี่ยงจะทำให้ความขัดแย้งมุ่งไปสู่การใช้กำลัง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

27 May 2019

World

11 Apr 2019

อำนาจนิยมดิจิทัล : AI กับการกำกับพฤติกรรมคนและป้องปราบการประท้วง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ พาไปรู้จักโครงการ ‘เครดิตทางสังคม’ ที่รัฐบาลจีนพัฒนาขึ้นมาให้สอดรับกับยุทธศาสตร์สร้างจีนให้เป็นมหาอำนาจ อันจะเข้ามาควบคุมปราบปรามคนที่แข็งขืนต่อรัฐบาล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Apr 2019

Politics

11 Mar 2019

‘ฝ่ายประชาธิปไตย-ฝ่ายเผด็จการ’ ‘คนรุ่นเก่า-รุ่นใหม่’: ขั้วความขัดแย้งในการเมืองไทยหลังคสช.

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตถึงการสร้าง ‘ความปรองดองแบบคสช.’ ที่ไม่ได้ช่วยสลายความขัดแย้ง แต่ได้เปลี่ยนรูปร่างหน้าตาขั้วความขัดแย้ง ‘เสื้อเหลือง-เสื้อแดง’ ให้แบ่งฝ่ายความขัดแย้งใหม่เป็น ‘คนรุ่นเก่า-คนรุ่นใหม่’ อันมีใจความอยู่ที่โลกทัศน์มากกว่าเรื่องอายุ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Mar 2019

China

18 Feb 2019

อำนาจนิยมดิจิทัล : จีนกับการเผยแพร่เทคโนโลยีควบคุมผู้เห็นต่าง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึง ‘โมเดลจีน’ (China model) ที่จีนใช้ควบคุมข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะใช้ในจีนแล้ว ยังมีความพยายามส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ที่มีแนวโน้มเป็นอำนาจนิยม ผ่านการจัดอบรมดูงาน และผ่านเครื่องมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญอย่าง ‘เส้นทางสายไหม’

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

18 Feb 2019

Global Affairs

17 Jan 2019

ชนชั้นนำเก่าในระบอบประชาธิปไตยใหม่

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงกรณีศึกษา ว่าด้วยการเปลี่ยนผ่านของ ‘ชนชั้นนำ’ ในประเทศที่กำลังเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Jan 2019

Thai Politics

7 Jan 2019

‘Digital Politics’ การเมืองใหม่ในโลกดิจิทัล กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ

คุยกับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ ว่าด้วย ‘Digital Politics’ การเมืองรูปแบบใหม่ในยุคดิจิทัล เก็บความจากรายการ 101 one-on-one

กองบรรณาธิการ

7 Jan 2019

World

17 Dec 2018

ชนชั้นนำกับประชาธิปไตยในโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจคำอธิบาย ว่าด้วยชนชั้นนำกับการเปลี่ยนผ่านจากเผด็จการไปสู่ประชาธิปไตยหลายแบบจากทั่วโลก เพื่อทำความเข้าใจวิธีคิดของคนกลุ่มนี้ ในการตัดสินใจหันหน้าหรือหันหลังให้ระบอบประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Dec 2018

Politics

12 Nov 2018

สุเทพโดนเท? : ที่มาที่ไปของขบวนการ ‘ภาคประชาสังคมฝั่งอนุรักษนิยม’ ในไทยและเทศ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงปฏิกิริยาต่อต้านที่สุเทพต้องเผชิญ จากการเดิน ‘คารวะแผ่นดิน’ พร้อมวิเคราะห์ที่มาที่ไปของขบวนการภาคประชาสังคม ฝั่งอนุรักษนิยม อย่างกลุ่มพันธมิตร และ กปปส. ซึ่งคล้ายคลึงกับสถานการณ์ในอินเดียและบราซิล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

12 Nov 2018

World

11 Oct 2018

สังคมสองเสี่ยงในประเทศประชาธิปไตย: รูปแบบและแนวโน้มในบริบทโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตว่า สังคมสองเสี่ยง (polarisation) อาจไม่ได้เป็นภัยต่อประชาธิปไตยเสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับบริบททางสังคมการเมืองของแต่ละประเทศ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Oct 2018

World

14 Jul 2018

หมูป่าติดถ้ำ : อารมณ์ ชุมชนนานาชาติ และการเมืองโลก

จันจิรา พูนสมบัติศิริ วิเคราะห์เหตุการณ์ช่วยเหลือ “ทีมหมูป่า” ว่าเหตุใดจึงได้รับความสนใจในระดับโลก รวมถึงการร่วมแรงร่วมใจจากนานาชาติ พร้อมตั้งคำถามว่าเหตุใด “ผู้ประสบภัย” อีกหลายกลุ่ม กลับไม่ได้รับการเหลียวแล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

14 Jul 2018
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save