นโยบายปราบ ‘อันธพาล’ กับการสร้างภาพลักษณ์ ‘พ่อบ้าน’ ทางการเมืองไทยของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
อิทธิเดช พระเพ็ชร ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์การปราบปรามอันธพาลภายใต้นโยบายของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และการสร้างภาพลักษณ์ ‘พ่อบ้าน’ ผ่านนโยบายดังกล่าว

อิทธิเดช พระเพ็ชร ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์การปราบปรามอันธพาลภายใต้นโยบายของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และการสร้างภาพลักษณ์ ‘พ่อบ้าน’ ผ่านนโยบายดังกล่าว
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงอนุภรรยาสาวชาวอุดรธานีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้มีนามว่า ‘คำนึงนิตย์ วงศ์วัฒนะ’ ชีวิตรักของท่านผู้นำวัย 60 ปีและอดีตผู้เข้าประกวดเวทีนางสาวไทยผู้นี้ ทำให้จอมพล ป. ถูกวิจารณ์ว่าเชิดชูนโยบายผัวเดียวเมียเดียวแต่กลับมีหลายเมียเสียเอง
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงที่มาของรูปปั้นจอมพล ป. พิบูลสงคราม และชวนฟังเพลง ‘สดุดีพิบูลสงคราม’ จัดแสดงในงานครบรอบ 91 ปี อภิวัฒน์สยาม โดยเครือมติชน
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงคำกล่าวอ้างในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ว่าคณะราษฎรผู้เป็นนักเรียนนอกจากฝรั่งเศส รับเอาวัฒนธรรมความหลงใหลเรื่องโป๊เปลือยติดตัวกลับคืนมาสู่เมืองไทย และกล่าวถึงนโยบายจัดระเบียบศีลธรรมประชาชนของรัฐบาล
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงหนังสือสองเล่มที่ปรีดี พนมยงค์ แนะนำว่าเป็นหลักฐานชั้นต้นของหน้าประวัติศาสตร์อภิวัฒน์สยาม 2475
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนเปิดหนังสือพิมพ์ช่วงปี 2498-2499 มองข้อเสนอการกระจายอำนาจของจอมพล ป. พิบูลสงคราม และข้อโต้เถียงที่เกิดขึ้นในช่วงนั้น
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าถึงความดังของเรื่องเล่า ‘แม่นาคพระโขนง’ ที่ขนาด จอมพล ป. พิบูลสงครามเคยเขียนบทความกล่าวถึง
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนที่มาความนิยมรับประทาน ‘น้ำเต้าหู้’ ซึ่งปรากฏทั่วแห่งหนในประเทศไทย โดยมีที่มาจากรัฐบาลคณะราษฎร
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึง ‘วันแม่’ ที่แต่เดิมไม่ใช่ 12 สิงหาคม และมีจุดกำเนิดมาจากนโยบายสนับสนุนให้คนมีลูกเพื่อสร้างชาติ
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงเรื่องราวการผจญอุปสรรคระหว่างลี้ภัยของจอมพล ป.พิบูลสงคราม หลังการรัฐประหาร 2490 โดยลูกน้องคนสนิท จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
101 สนทนากับ พีระ เจริญวัฒนนุกูล ว่าด้วยการช่วงชิงความชอบธรรมทางการเมือง การแสวงหาสถานะและเอกราชไทยในการเมืองระหว่างประเทศยุคคณะราษฎร
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ว่าด้วย 8 สูตรทำก๋วยเตี๋ยวสมัยที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศว่าการกินก๋วยเตี๋ยวต้องเป็นวาระแห่งชาติ!
นริศ จรัสจรรยาวงศ์ ร่วมกับ สุกัญญา เจริญวีรกุล เขียนถึงผลงานของพุทธทาสภิกขุ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) เกี่ยวกับการอภิวัฒน์ 2475 และเรื่องราวความสัมพันธ์กับผู้นำคณะราษฎร
กษิดิศ อนันทนาธร เล่าประวัติพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้านายที่เติบโตก้าวหน้าหลังปฏิวัติ 2475 และได้รับการสรรเสริญจากคณะราษฎร
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า