Curious Economist

1 Oct 2024

จะเกิดปัญหาอะไรบ้าง ถ้าแวดวงวิชาการยังให้ความสำคัญแต่กับ h-index

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนมองปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อแวดวงวิชาการให้ความสำคัญกับตัวเลข h-index ในการชี้วัดความสำเร็จมากเกินไป

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

1 Oct 2024

Public Policy

26 Sep 2024

ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?

ความเข้มแข็ง/อ่อนแอ ในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน?นโยบายรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?

สรัช สินธุประมา

26 Sep 2024

Social Issues

17 Sep 2024

เสรีภาพที่ผุพังในมหาวิทยาลัย

สมชัย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงเสรีภาพ(อันผุพัง) ของการแสวงหาความรู้ในมหาวิทยาลัย ซึ่งปรากฏผ่านการควบคุมงานวิจัยที่ตั้งคำถามต่อสถาบันสำคัญทางสังคม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Sep 2024

Science & Innovation

18 Aug 2023

นักวิทย์ไทยไส้แห้ง (?) : ฟังเสียงที่บอกว่าวิทยาศาสตร์ไม่อาจเบ่งบานในสังคมขาดการสนับสนุนจากรัฐ

101 พาไปตรวจสอบสมมติฐานที่เขาว่ากันว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัยในไทยนั้น ‘ไส้แห้ง’ จนคนไม่เลือกเรียน ฟังเสียง 2 นักวิจัย อดีตนักเรียนทุนรัฐบาลเพื่อเปิดไปสู่ภาพใหญ่ว่ารัฐไทยจริงจังกับการสนับสนุนวิทยาศาสตร์มากแค่ไหน

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

18 Aug 2023

Social Issues

22 Dec 2022

เด็กไม่ใช่อนาคต แต่เด็กคือปัจจุบัน: พาสังคมก้าวพ้นชราธิปไตยผ่านจินตนาการพลเมือง

ท่ามกลางความสิ้นหวังของคนรุ่นใหม่ 101 ชวนทำความรู้จักเครื่องมือ ‘จินตนาการพลเมือง’ ที่จะช่วยสร้างหวังและนับรวมความฝันของคนรุ่นใหม่อีกครั้ง

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Dec 2022

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022

Kid For Kids

22 Sep 2022

Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต

พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย

ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2022

Business

3 Aug 2022

“อย่าไว้ใจงานวิชาการ!” – บทเรียนจากรายงานศึกษาผลกระทบควบรวมทรู-ดีแทคในมือ กสทช.

101 ชวนจับเท็จรายงานศึกษาผลกระทบควบรวมทรู-ดีแทค ซึ่ง กสทช. ใช้ประกอบการตัดสินเรื่องการควบรวม เพื่อเป็นบทเรียนว่าอย่าไว้ใจผลจากงานวิชาการเสมอไป

กองบรรณาธิการ

3 Aug 2022

Curious Economist

19 Dec 2021

การตีพิมพ์ผลงานวิชาการกับแรงจูงใจที่อาจนำไปสู่การทำผิดจริยธรรม

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงช่องโหว่ในแวดวงการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ ที่สร้างแรงจูงใจให้บรรดานักวิชาการ-นักศึกษา ทำผิดจริยธรรมทางวิชาการได้

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

19 Dec 2021

Economy

10 Jun 2021

เราเชื่อถือ ‘งานวิจัย’ ได้แค่ไหนกัน?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ กล่าวถึงข้อควรระวังในการอ่านงานวิจัย เพราะบางชิ้นอาจถูกเขียนขึ้นโดยมีข้อผิดพลาดและอคติในการตีพิมพ์ (Publication Bias)

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

10 Jun 2021

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save