อ่านจีนให้รู้จัก
แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงหนังสือ ‘เขียนจีนให้เป็นไทย’ ของสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์ ที่ตีแผ่การเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์จีนจากความเป็นอื่นสู่ความเป็นไทย

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงหนังสือ ‘เขียนจีนให้เป็นไทย’ ของสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์ ที่ตีแผ่การเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์จีนจากความเป็นอื่นสู่ความเป็นไทย
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงชีวิตของ ‘พ่อ’ ผู้เป็นชาวจีนยุคเสื่อผืนหมอนใบ อพยพจากสงครามกลางเมืองมาอยู่ไทย แต่ไม่เคยลืมสัญญาตลอด 70 ปี
มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย
เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต
กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงชีวิตของ แตงอ่อน จันดาวงศ์ ภรรยานายครอง จันดาวงศ์ ผู้กล่าวประโยคอมตะ “เผด็จการจงพินาศ ประชาธิปไตยจงเจริญ”
3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร
มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนสำรวจวัฒนธรรมการดื่มในประเทศคอมมิวนิสต์และอดีตคอมมิวนิสต์ เมื่อมุมมองต่อแอลกอฮอล์ของรัฐส่งผลไปถึงการควบคุมในสังคม
อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก
แมท ช่างสุพรรณ ย้อนอ่านเบื้องหลังวาทกรรม “ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป” ในการเมืองช่วง 6 ตุลาคม 2519 ผ่านหนังสือบันทึกคำบรรยายของอาจารย์กิตติวุฑโฒ ภิกขุ เจ้าของวาทกรรมดังกล่าว
101 ชวน ดร.เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ นักวิชาการด้านลาตินอเมริกาศึกษา สำรวจสถานการณ์ COVID-19 ในลาตินอเมริกา
คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น
สมคิด พุทธศรี ชวนสุรชาติ บำรุงสุข รำลึก 30 ปีการพังทลายของกำแพงเบอร์ลิน และถอดบทเรียน ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 20’ เพื่อรับมือกับ ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 21’
อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึง ‘ข่าวใหญ่’ ในช่วงที่ผ่านมา ไล่ตั้งแต่สถานการณ์ในยุโรป สหรัฐฯ อเมริกาใต้ ฮ่องกง เรื่อยมาถึงไทย อันมีทั้งจุดร่วมและจุดต่างที่น่าใคร่ครวญ
ในโอกาสครบรอบ 60 ปี การปฏิวัติคิวบา เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ชวนมองนโยบายต่างประเทศของประเทศคอมมิวนิสต์แห่งเดียวในทวีปอเมริกาแห่งนี้ที่มีต่อประเทศเอเชียและโอเชียเนียปัจจุบัน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า