ศักดิ์สิทธิ์และไม่โปร่งใส
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดต่อจากคดีสินบนโตโยต้า เรื่องความชอบธรรมของตุลาการที่เสริมสร้างมาจากความศักดิ์สิทธิ์

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดต่อจากคดีสินบนโตโยต้า เรื่องความชอบธรรมของตุลาการที่เสริมสร้างมาจากความศักดิ์สิทธิ์
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนคิดเรื่องการติดกล้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ งานวิจัยชี้การเพิ่มความโปร่งใสด้วยการติดกล้องลดโอกาสปฏิบัติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และช่วยคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริตของเจ้าหน้าที่
เก็บความจากงาน “Open Data for Anti-Corruption Workshop” ว่าด้วยการใช้ Open Data ในการต่อต้านคอร์รัปชัน ถอดบทเรียนจากฟิลิปปินส์ ไต้หวัน พร้อมอัพเดตความคืบหน้าในประเทศไทย
“Open Government : ทางออกปฏิรูปรัฐไทย” กับ ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
สำรวจปัญหาของรัฐไทย โดยเฉพาะเรื่องโครงสร้างของระบบกฎหมายและการกำกับดูแล ผ่านกรณีศึกษาจริงที่ชวนให้ตกใจ! แล้วหาคำตอบว่าแนวคิด ‘รัฐบาลเปิด’ หรือ Open Government เป็นทางออกในการปฏิรูปรัฐไทยอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกยุคดิจิทัล
การจะสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่กระทบต่อชีวิตของผู้คน ย่อมต้องศึกษาข้อดีข้อเสีย และเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา หยิบเอาประเด็นที่กำลังร้อนในอเมริกา ว่าด้วยที่ตั้งใหม่ หรือ HQ2 ของอเมซอน ที่ต้องใช้พื้นที่กว่า 7 แสนตารางกิโลเมตร!
‘Blockchain’ ในฐานะเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนโฉมอนาคต ด้วยคุณลักษณะเด่นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถย้อนกลับไปตรวจสอบความโปร่งใสได้ เทคโนโลยีนี้จึงเริ่มถูกนำมาใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากโลกการเงินด้วย
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากวงเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ ‘เทคโนโลยี Blockchain เพื่อความโปร่งใสและความรับผิดชอบ’ ซึ่งภาคส่วนต่างๆ มาระดมสมองกันหาคำตอบดังกล่าว ว่าด้วยการใช้ Blockchain ในกระบวนการยุติธรรม
สนทนากับ “ภาวิน ศิริประภานุกูล” เรื่องความโปร่งใสทางการคลังและการปฏิรูปภาษี ในเศรษฐกิจที่เต็มไปด้วยขยะกองใหญ่ใต้พรมยักษ์
หมดยุคที่ธุรกิจทั้งหลายจะทำตัวลับๆ ล่อๆ กันแล้ว เพราะเทรนด์ที่กำลังมาในตอนนี้คือความต้องการของบรรดาผู้บริโภคยุคใหม่ที่ใส่ใจกับ ‘ความโปร่งใส’ ของธุรกิจ… ยิ่งเปิดเผยเท่าไหร่ ยิ่งโดนใจคนมากเท่านั้น!
‘ใครๆ ก็ทำกัน’ คือประโยคฮิตที่เป็นสาเหตุของการคอร์รัปชัน จนทำให้การลุกมาสวนกระแสกลายเป็นเรื่องยากเสียเหลือเกิน แต่ลองเปลี่ยนวิธีคิดนิดเดียวแล้วจะรู้แล้วว่าอยู่แบบไม่โกงน่ะ ไม่ได้ยากขนาดนั้นหรอก!
เทคโนโลยีแห่งศตวรรษซึ่งกำลังเป็นที่พูดถึงและกำลังจะเข้ามาเปลี่ยนโลกในตอนนี้คงหนีไม่พ้น “บล็อกเชน” (Blockchain) มันเป็นเครื่องมือสร้างที่จะสร้างความมั่งคั่งใหม่ และกระจายโอกาสไปยังทุกคนได้อย่างเท่าเทียมกว่าเดิม แต่ไม่ใช่แค่โอกาสทางธุรกิจเท่านั้น เชื่อไหมว่า บล็อกเชนใช้ช่วยแก้ปัญหาคอร์รัปชันได้ด้วย!
ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ ว่า The Met พิพิธภัณฑ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง มีคนเข้าชมมากถึงปีละ 6.7 ล้านคน กำลังถังแตก ไปดูกันว่าเกิดอะไรขึ้นกับยักษ์ใหญ่ในวงการศิลปะแห่งนี้!
รัฐบาลคือหนึ่งในผู้ครอบครองข้อมูลที่ใหญ่ที่สุด แต่รัฐชอบปกปิดข้อมูลเอาไว้ลับๆ ซึ่งในบางแง่มุมก็ถูกอ้างว่าเป็นไปเพื่อความมั่นคง แต่ในอีกด้าน การปิดลับพวกนี้ก็ทำให้เกิดการคอร์รัปชันได้โดยคนอื่นไม่รู้ (ก็งบลับต่างๆน่ะ-ใครตรวจสอบได้บ้าง!) คำถามก็คือ การเปิดเผยข้อมูลต่างๆสู่สาธารณะ จะช่วยลดการคอร์รัปชันลดลงได้หรือเปล่า?
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า