ทำไมเงิน 300,000 ล้านบาทต่อปี สร้างการศึกษาที่ดีไม่ได้: งบประมาณดูดวิญญาณ
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนหาคำตอบว่าทำไมงบประมาณที่จัดสรรให้กระทรวงศึกษาฯ 3 แสนล้านบาทต่อปี ถึงไปอาจพัฒนาการศึกษาไทยได้

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนหาคำตอบว่าทำไมงบประมาณที่จัดสรรให้กระทรวงศึกษาฯ 3 แสนล้านบาทต่อปี ถึงไปอาจพัฒนาการศึกษาไทยได้
101 In Focus ชวนอ่านบทความและงานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วยการเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบายการศึกษา เพื่อหาคำตอบว่าทำไม ‘ความตั้งใจดี’ จึงไม่เพียงพอกับการทำนโยบาย
ชวนมองผลวิจัยที่มุ่งหาคำตอบว่าเหตุใดการศึกษาไทยไม่พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แม้มีความพยายามปฏิรูปการศึกษามายาวนาน โดยมองผ่านกรอบคิดเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองของนโยบาย
101 ชวนสำรวจชีวิตครูไทยที่การสอนหนังสือดูจะเป็นเรื่องลำดับรองๆ ที่ครูทำในโรงเรียน ไปจนถึงคุณภาพชีวิตการทำงานที่หลายเสียงบอกตรงกันว่าไม่สอดคล้องกับค่าจ้างที่ได้รับ ครูไทยวันนี้กำลังเผชิญกับอะไร
เปิดผลงานวิจัยที่หาคำตอบว่าการให้ทุนกับผู้ปกครองในช่วงเวลาไหนจึงจะส่งผลต่อการนำเงินไปใช้จ่ายในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กโดยตรง
เมื่องานวิจัยพบว่าหากเด็กด้อยโอกาสมีเพื่อนร่ำรวยจะช่วยเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิจได้ แล้วในสังคมไทยที่มีคุณภาพโรงเรียนต่างกัน ทำให้เด็กสองกลุ่มไม่ได้เรียนที่เดียวกัน จะทำอย่างไรให้พวกเขาอยู่สังคมเดียวกันได้บ้าง?
101 ชวนตั้งวงคุยกะเทาะปัญหาของการเรียนออนไลน์ และเปิดบทสนทนาเพื่อแก้ระบบการศึกษาไทยไปด้วยกัน ผ่านนักวิชาการและทีมงานทำสารคดี ‘โตมากับจอ’ สารคดี 8 ตอน สะท้อน 8 ปัญหาการศึกษาไทย วันศุกร์ที่ 21 มกราคม 2565 เวลา 20.30 น. ทาง Clubhouse
101 ชวนคุณร่วมสอบภาคปฏิบัติวิชา ‘ความเสมอภาคทางการศึกษา’ ในปี 2021 ร่วมไขโจทย์ว่าจะแก้โจทย์ภาวะสูญเสียการเรียนรู้ได้อย่างไรบ้าง และอะไรคือทักษะที่ต้องโลกใหม่ต้องการ
‘ความยากจนทางการเรียนรู้’ คืออะไร? ชลิดา หนูหล้า ชวนสำรวจนิยาม สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางขจัดความยากจนทางการศึกษาให้หมดไป
101 ชวนคุณมาทำความรู้จัก ‘โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ’ อีกหนึ่งโอกาสทางการศึกษาใต้ร่มกาสาวพัสตร์ ผ่านเรื่องราวของคุณครูและสามเณรแห่งโรงเรียนวัดป่าหนองดินดำวิทยาลัย
101 ชวนถอดบทเรียนจากรายงานพิเศษ The state of school education: One year into the COVID pandemic จัดทำโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ลงไปสำรวจ 33 ประเทศเพื่อคลี่ให้เห็นว่า 1 ปีที่ผ่านมา เกิดอะไรขึ้นบ้างในโลกการเรียนรู้ โลกการเรียนรู้บางแห่งในโลกเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ส่วนหนึ่งของโลกการศึกษาลงมือทำอะไรไปแล้วบ้าง ระบบการศึกษา-ครู-นักเรียนได้รับการโอบอุ้มไม่ให้ร่วงหล่นอย่างไร แล้วโลกการศึกษาควรเดินหน้าไปอย่างไรต่อหลังวิกฤตค่อยๆ ส่อแววว่าจะคลี่คลาย
วรรษกร สาระกุล ชวนสำรวจข้อมูลและตัวเลขเกี่ยวกับปรากฏการณ์ Covid Slide – ปรากฏการณ์การสูญเสียการเรียนรู้ในช่วงโควิด-19 จากโลกจริงเพื่อฉายแนวโน้มของปรากฏการณ์ Covid Slide ในไทย
นิชาภัทร ไม้งาม เปิดงานวิจัยในประเทศไทยว่าเมื่อนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียนยากจนแล้วได้ผลเป็นอย่างไร
101 In Focus สัปดาห์นี้ ขอชวนคุณเปิดคลาสเรียนเพื่อความเสมอภาค ย้อนสำรวจความเปลี่ยนแปลงของโลกการศึกษาหลังโควิด-19 แนวทางและองค์ความรู้ในการจัดการศึกษาใหม่ๆ ที่น่าสนใจ หนทางไปสู่ระบบการศึกษาที่ดีกว่า ผ่านบทความ บทสัมภาษณ์ และสื่อรูปแบบต่างๆ ตลอดช่วงเดือนพฤษภาคมนี้
ชวนสำรวจ 3 ปีเส้นทางแห่งการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย รวมทั้งอนาคตของเส้นทาง ผ่านสายตาของ นพ.สุภกร บัวสาย ผู้จัดการ กสศ. และ กนิษฐา คุณาวิศรุต ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริหารเงินอุดหนุนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ กสศ.
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า