“ข้าราชการต้องแต่งกายตามเพศกำเนิด” กฎระเบียบสะท้อนการเลือกปฏิบัติทางเพศที่แฝงฝังในระบบราชการไทย
101 สรุปงานเสวนา ว่าด้วยกฎระเบียบในระบบราชการที่แฝงฝังแนวคิดการเลือกปฏิบัติทางเพศ โดยเฉพาะกฎระเบียบด้านเครื่องแต่งกาย

101 สรุปงานเสวนา ว่าด้วยกฎระเบียบในระบบราชการที่แฝงฝังแนวคิดการเลือกปฏิบัติทางเพศ โดยเฉพาะกฎระเบียบด้านเครื่องแต่งกาย
เมื่อความเท่าเทียมทางเพศคือหนึ่งในหัวใจสำคัญของการศึกษายุคใหม่ 101 ชวนอ่านแนวทางสร้างระบบการศึกษาและเปลี่ยนองคาพยพของสังคมให้โอบรับทุกเพศ โดย UNICEF
ในวาระเดือนมีนาคมมีวันสตรีสากล PRESSCAST อีพีนี้ คุยกับฉัตรรวี เสนธนิสศักดิ์ ผู้ดูแลคอนเทนต์ Mirror Thailand สื่อทีสนับสนุนตัวตนผู้หญิงในสังคม
รายการ 101 Gaze ชวนคุณรับฟังเสียงอันหลากหลาย สำรวจปัญหาใต้ภูเขาน้ำแข็งที่ยังเกิดกับ LGBTIQA+ ร่วมจินตนาการและลงมือสร้างสังคมแห่งความเท่าเทียมไปพร้อมๆ กัน
101 คุยกับ วาดดาว-ชุมาพร แต่งเกลี้ยง ถึงการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศและการทำลายโครงสร้างชายเป็นใหญ่ในทุกพื้นที่ของสังคม
101 ชวนหนึ่งในผู้ปราศรัยในการชุมนุมที่ผ่านมาร่วมพูดคุย คือ วาดดาว-ชุมาพร แต่งเกลี้ยง นักกิจกรรมเพื่อความหลากหลายทางเพศ และโฆษกพรรคสามัญชน ที่หยิบยกประเด็นเรื่องความเท่าเทียมทางเพศและแนวคิดชายเป็นใหญ่ขึ้นมาพูดบนเวที และทำให้เห็นอคติของสังคมที่ยังกดทับคนบางกลุ่มให้อยู่กับการถูกเลือกปฏิบัติ
101 พูดคุยกับผู้ร่วมชุมนุม ‘ทวงคืนอำนาจราษฎร’ ถึงชีวิต ความคิดความอ่านบนเส้นทาง 14 ปีการเมืองไทยจากรัฐประหาร 19 กันยา 2549 สู่การประท้วง 19 กันยา 2563 ว่าผันแปรเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง
101 คุยกับผู้ชุมนุม #ประชาชนปลดแอก ถึงความหวัง ความฝัน และความรู้สึกที่แต่ละคนหอบหิ้วมาร่วมต่อสู้ บางคนอยากเห็นความเท่าเทียมทางเพศ อยากเห็นรถไม่ติด อยากเห็นคนเป็นคน อยากเห็นคนเท่ากัน พวกเขามารวมตัวกันเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นไปสู่ความฝันถึงสังคมที่ดีกว่าเดิม
จันจิรา พูนสมบัติศิริ ชวนมอง ‘#ม็อบไม่มุ้งมิ้งแต่ตุ้งติ้งค่ะคุณรัฐบาล’ที่ขับเคลื่อนเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศและประชาธิปไตยไปพร้อมกัน รวมทั้ง ‘วิธี’ การประท้วงผสานสันทนาการที่มีความเป็น ‘คาร์นิวัล’ เปิดพื้นที่ให้เห็นถึงความเป็นไปได้อันหลากหลาย
101 สนทนากับ ชานันท์ ยอดหงษ์ นักประวัติศาสตร์ผู้เขียนหนังสือ ‘นายใน’ และนักเขียนเจ้าของคอลัมน์ SEX-RAY ว่าด้วยประเด็นความเท่าเทียมทางเพศกลายเป็นที่ถกเถียงอย่างร้อนแรงในโลกออนไลน์
ไม่นานมานี้ ประเด็นความเท่าเทียมทางเพศกลายเป็นที่ถกเถียงอย่างร้อนแรงในโลกออนไลน์ ควบคู่ไปกับปรากฏการณ์ ‘เฟมทวิต’ หรือการเคลื่อนไหวของเฟมินิสต์ที่รณรงค์ต่อสู่ผ่านทวิตเตอร์
ปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เราเห็นอะไร สถานการณ์เรื่องเพศที่เกิดขึ้นในครึ่งปีที่ผ่านมามีอะไรน่าจับตาบ้าง ความรู้และการเคลื่อนไหวว่าด้วยความเท่าเทียมทางเพศในโลกเปลี่ยนไปอย่างไร และประเทศไทยอยู่ตรงไหนเมื่อมองผ่านแว่นตาเพศวิถี
สนิทสุดา เอกชัย หยิบประเด็นการเมืองน้ำเน่าจากสภา มามองเรื่องเพศในการเมืองไทย จนถึงภัยของลัทธิเผด็จการทหารที่มีต่อสิทธิสตรี
คอลัมน์ Tren Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึงเรื่อง Gender Pay Gap หรือ ‘ช่องว่าง’ ระหว่างรายได้ของคนที่มีเพศแตกต่างกัน
คอลัมน์ Sex Appear เล่าเรื่องราว ประสบการณ์ และมุมมองเกี่ยวกับเพศ เพศสภาวะ และเพศวิถีของผู้คน ผ่านน้ำเสียงของ ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ กองบรรณาธิการ และภาพประกอบของ ภาพิมล หล่อตระกูล เพื่อสร้างพื้นที่ที่พูดเรื่องเพศได้อย่างเต็มปากเต็มคำ และตั้งตารอจนกว่าความเท่าเทียม และเท่าทันในเรื่องเพศจะเกิดขึ้นในสังคม เริ่มตอนแรกด้วย เรื่องเล่าชีวิตหญิงรักหญิงของ ‘มิว’
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึงหนังสือของเวอร์จิเนีย วูล์ฟ ที่ว่ากันว่าเป็นจดหมายรักต่อผู้หญิงคนรักของเธอ เรื่องราวของออร์แลนโด ผู้ชายที่กลายเป็นผู้หญิงและมีชีวิตอยู่ยาวนานกว่า 400 ปี
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า