101 Round Table ‘จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2023’
101 เปิดวงสนทนา Round Table ชวนพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย, อาร์ม ตั้งนิรันดร และประจักษ์ ก้องกีรติ คุยถึงปัญหาและโอกาสที่รออยู่ในปี 2023

101 เปิดวงสนทนา Round Table ชวนพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย, อาร์ม ตั้งนิรันดร และประจักษ์ ก้องกีรติ คุยถึงปัญหาและโอกาสที่รออยู่ในปี 2023
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีสัจนิยม ซึ่งครองความเป็นเจ้าในอาณาบริเวณการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเกือบห้าสิบปี
จากเหตุการณ์เครื่องบินรบพม่าบินเข้ามาในน่านฟ้าไทย สุภลักษณ์ชวนวิเคราะห์ว่า ความไร้เสถียรภาพทางการเมืองภายหลังการรัฐประหาร ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพไทย-พม่าเปราะบางทั้งต่อความมั่นคงตามแนวชายแดน ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศ และภาพลักษณ์ไทยในสายตาชาวโลก
ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึง ‘ทฤษฎีไขปัญหา’ ในวิชาไออาร์ ซึ่งเป็นคู่แข่ง ‘ทฤษฎีเชิงวิพากษ์’ ที่กำลังมีอิทธิพลในหมู่นักเรียนไออาร์รุ่นใหม่
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่าน ‘ข้อคิดสุดท้าย’ ที่เคยให้แก่นิสิตสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนที่จะออกไปทำงานในโลกจริง
101 In Focus พาไปเจาะลึกว่าเกมการทูตวัคซีนโควิด-19ว่ากำลังเดินหน้าไปทางใด ชาติมหาอำนาจชาติไหนกระโดดเข้าร่วมการแข่งขันนี้บ้าง อะไรคือแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ และหมัดเด็ดของแต่ละชาติ
101 พาไปเจาะลึกสมรภูมิการเมืองระหว่างประเทศใน 6 ภูมิภาคของโลกในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน พร้อมไปมองว่าแต่ละขั้วชาติมหาอำนาจกำลังเข้าไปเดินเกมในแต่ละพื้นที่กันอย่างไร
101 ชวนวิเคราะห์ว่า สมรภูมิการเมืองโลกในยุคการทูตวัคซีนกำลังเดินหน้าไปทางใด ชาติไหนกระโดดเข้าร่วมการแข่งขันนี้บ้าง อะไรคือแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ และหมัดเด็ดของแต่ละชาติ
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนสำรวจแนวคิดแบบสภาพจริงนิยมที่วิพากษ์ว่าอุดมการณ์เป็น ‘พิษร้าย’ ต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผ่านงานวิจัยของสุรพงษ์ ชัยนาม และแนวคิดของฮานส์ มอร์เกนธาว
ธารีรัตน์ เลาหบุตร และ Miroslav Nozina เขียนถึงการสร้างความสัมพันธ์ไทย-สาธารณรัฐเช็ก ประเทศที่ห่างไกลกันทางภูมิศาสตร์และไม่มีเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ร่วมกัน
101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุณผู้ฟังสำรวจทางรอดของศาสตร์และการเรียนการสอนสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผ่านบทสัมภาษณ์ ผศ.ดร.จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
101 สนทนากับ จิตติภัทร พูนขำ เกี่ยวกับองค์ความรู้และโลกของ IR ไปจนถึงการเรียนการสอน และการปรับตัวของ IR ในยุคที่โลกผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อจีนขยายอิทธิพลเข้ามาในเนปาล ขณะที่บทบาทของอินเดียค่อยๆ ลดลง
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงปัญหาที่พรมแดนเวเนซุเอลา-โคลอมเบีย ที่ผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุข และรัฐบาลเวเนซุเอลาเองก็ไม่พร้อมรับประชาชนของตัวเองกลับ
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า