ชวนอ่าน 3 ผลงานรางวัลสื่อมวลชนเพื่อสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2563 (Media Award 2020) โดย Amnesty International Thailand
ชวนอ่านและชม 3 ผลงานรางวัลสื่อมวลชนเพื่อสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2563 (Media Award 2020) โดย Amnesty International Thailand

ชวนอ่านและชม 3 ผลงานรางวัลสื่อมวลชนเพื่อสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2563 (Media Award 2020) โดย Amnesty International Thailand
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงการสอนเด็กไม่ให้ทำร้ายร่างกายคนอื่น ซึ่งผู้ใหญ่ต้องเป็นตัวอย่างที่ดี แม้เด็กจะดื้อก็ต้องรับฟังด้วยหัวใจและไม่ตีเด็ก
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความรุนแรงอันเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่พึงปรารถนา แต่กลับเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการอย่างแยกไม่ออก
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงวิทยาศาสตร์ของการก่อจลาจลในการชุมนุมประท้วง ธรรมชาติของจลาจลเป็นอย่างไร และอะไรคือตัวจุดชนวน
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเมื่อลูกถูกทำร้ายร่างกายหรือล่วงละเมิด สิ่งสำคัญคือการพาลูกเข้าพบจิตแพทย์เด็กโดยเร็ว อย่ามัวรอหน่วยงานราชการให้เป็นข่าวเอิกเกริก
101 สนทนากับ ผศ.เอกรินทร์ ต่วนศิริ เพื่อทำความเข้าใจพลัง ‘3นิ้ว’ ในชายแดนใต้/ปาตานี ท่ามกลางฝ่ายความมั่นคงและขบวนการติดอาวุธที่เลือกจะใช้ความรุนแรงเป็นหลัก
สมชาย ปรีชาศิลปกุล พาไปทำความรู้จัก ‘รัฐฆาตกรรม’ อันเป็นโครงสร้างให้เกิดความรุนแรงของรัฐต่อประชาชนในหลากหลายรูปแบบ
จันจิรา สมบัติพูนศิริ พาไปสำรวจคลื่นการประท้วงทั่วโลกที่กำลังเกิดขึ้น โดยมองถึงสาเหตุ ยุทธวิธี และอนาคตที่คลื่นนี้จะพาไปถึง
คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill พาไปชมการแสดง ‘ความรุนแรง’ สุดบีบคั้น ที่เอาคนเป็นๆ มาแสดงความรุนแรงไต่ระดับให้เห็นกันต่อหน้าต่อตา
วจนา วรรลยางกูร เรียบเรียงการพูดคุยจากวงเสวนา ‘สันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (จชต.): โอกาสการขยายตัวของความรุนแรงและบทบาทคนนอก’ อันสะท้อนภาพรวมกระบวนการพูดคุยสันติภาพที่ดำเนินอย่างเชื่องช้าจากแง่มุมต่างๆ
สนิทสุดา เอกชัย เขียนถึงการใช้เฮทสปีชของชาวไทยพุทธ อันขัดแย้งกับหลักคิดของศาสนาที่มุ่งเน้นการสร้างสันติ ไม่ใช่การด่าทอไล่ออกจากแผ่นดินจนถึงสนับสนุนให้ทำร้ายคนคิดต่างแบบที่เกิดขึ้น
บดินทร์ สายแสง ชวนทำความรู้จัก ‘ความรุนแรงอันแช่มช้า’ หรือ ‘Slow Violence’ ในปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มักมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าในทันที แต่ค่อยๆ สะสมตัวและระเบิดออกมาจนกลายเป็นโศกนาฏกรรม
เครื่องสำอางจะช่วยปกปิดรอยช้ำภายนอกได้อย่างเรียบเนียน แต่ร่องรอยในจิตใจที่เกิดจากความรุนแรงทางร่างกาย โดยเฉพาะความรุนแรงทางเพศ เครื่องสำอางไหนๆ ก็เยียวยาไม่ได้
คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาไปรู้จัก ‘ก่อการร้ายขาว’ หรือ White Terrorism แนวคิดเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร และมีอุดมการณ์หรือองค์กรอะไรอยู่เบื้องหลังหรือไม่
เพดานสูงสุดในความสัมพันธ์ของคุณคืออะไร? สำหรับ ‘ฝน’ หญิงสาวที่แบ่งปันเรื่องให้คอลัมน์ ‘sex appear’ ประจำเดือนนี้ คือร่องรอยของความรู้สึกที่ทิ้งไว้ หลังการทำร้ายร่างกาย
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า